การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง
การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบส่งออกโดยมีข้าวเป็นสินค้าหลัก ทำให้เกิดโครงการพัฒนาที่ดินครั้งสำคัญในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง สมัยรัชกาลที่ 5 คือการขุดคลองและบุกเบิกที่นาในโครงการรังสิต ซึ่งก่อให้เกิดการอพยพสู่พื้นที่นี้โดยผู้คนหลากหลายฐานะและชาติพันธุ์ ท่ามกลางการระดมทรัพยากรทางเศรษฐกิจในการผลิตข้าวทั้งในรูปเ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2010
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13812 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.13812 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.138122010-11-01T03:58:16Z การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง Cattle robbery in Rangsit Field : a study of the decline of the traditional ‘Nakleng’ patron-client relationship นนทพร อยู่มั่งมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ กระบือ โจรกรรม ระบบอุปถัมภ์ การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบส่งออกโดยมีข้าวเป็นสินค้าหลัก ทำให้เกิดโครงการพัฒนาที่ดินครั้งสำคัญในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง สมัยรัชกาลที่ 5 คือการขุดคลองและบุกเบิกที่นาในโครงการรังสิต ซึ่งก่อให้เกิดการอพยพสู่พื้นที่นี้โดยผู้คนหลากหลายฐานะและชาติพันธุ์ ท่ามกลางการระดมทรัพยากรทางเศรษฐกิจในการผลิตข้าวทั้งในรูปเงินตราและแรงงาน ได้เพิ่มคดีและความรุนแรงของการปล้นสะดม โดยเฉพาะการปล้นและลักกระบือ ซึ่งกลายเป็นทรัพย์สินที่มูลค่าทางเศรษฐกิจสูง การพิจารณาถึงลักษณะคดีและการปล้นสะดมกระบือที่เกิดขึ้นในพื้นที่แถบนี้ จะเห็นได้ถึงความเสื่อมคลายของความสัมพันธ์ทางสังคมและระบบอุปถัมภ์ในยุคเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ สู่สภาพและระบบสังคมเฉพาะของพื้นที่บริเวณดังกล่าวนี้ ซึ่งได้เกิดระบบอุปถัมภ์แบบใหม่ ทั้งที่เป็นลักษณะเฉพาะในแต่ละกลุ่มอพยพ ที่เกิดจากระบบเช่านา จากความคุ้มครองของบริษัทเจ้าของสัมปทาน รวมถึงการจัดการโดยระบบราชการและกฎหมาย ขณะที่บทบาทของนักเลงที่มีความสำคัญสูงในระบบสังคมแบบเดิมเริ่มหมดพลัง และกลายเป็นผู้สร้างความเดือดร้อนไปในที่สุด Not long after the opening up of the irrigated ‘Rangsit Field’ for rice production during the reign of Rama V, the incidence of cattle robbery in this new district became phenomenal. The examination of official records of cattle robbery cases as well as other related crimes reveals a significant transformation in the social relationships of these rice growing peasants -- the decline of the traditional ‘Nakleng’ patron-client relationship. 2010-11-01T03:58:16Z 2010-11-01T03:58:16Z 2547 Article วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 33,2(ก.ค.-ธ.ค. 2547),27-79 0125-4820 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13812 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3897394 bytes application/pdf application/pdf คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
กระบือ โจรกรรม ระบบอุปถัมภ์ |
spellingShingle |
กระบือ โจรกรรม ระบบอุปถัมภ์ นนทพร อยู่มั่งมี การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง |
description |
การขยายตัวของเศรษฐกิจแบบส่งออกโดยมีข้าวเป็นสินค้าหลัก ทำให้เกิดโครงการพัฒนาที่ดินครั้งสำคัญในพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง สมัยรัชกาลที่ 5 คือการขุดคลองและบุกเบิกที่นาในโครงการรังสิต ซึ่งก่อให้เกิดการอพยพสู่พื้นที่นี้โดยผู้คนหลากหลายฐานะและชาติพันธุ์ ท่ามกลางการระดมทรัพยากรทางเศรษฐกิจในการผลิตข้าวทั้งในรูปเงินตราและแรงงาน ได้เพิ่มคดีและความรุนแรงของการปล้นสะดม โดยเฉพาะการปล้นและลักกระบือ ซึ่งกลายเป็นทรัพย์สินที่มูลค่าทางเศรษฐกิจสูง การพิจารณาถึงลักษณะคดีและการปล้นสะดมกระบือที่เกิดขึ้นในพื้นที่แถบนี้ จะเห็นได้ถึงความเสื่อมคลายของความสัมพันธ์ทางสังคมและระบบอุปถัมภ์ในยุคเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ สู่สภาพและระบบสังคมเฉพาะของพื้นที่บริเวณดังกล่าวนี้ ซึ่งได้เกิดระบบอุปถัมภ์แบบใหม่ ทั้งที่เป็นลักษณะเฉพาะในแต่ละกลุ่มอพยพ ที่เกิดจากระบบเช่านา จากความคุ้มครองของบริษัทเจ้าของสัมปทาน รวมถึงการจัดการโดยระบบราชการและกฎหมาย ขณะที่บทบาทของนักเลงที่มีความสำคัญสูงในระบบสังคมแบบเดิมเริ่มหมดพลัง และกลายเป็นผู้สร้างความเดือดร้อนไปในที่สุด |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ นนทพร อยู่มั่งมี |
format |
Article |
author |
นนทพร อยู่มั่งมี |
author_sort |
นนทพร อยู่มั่งมี |
title |
การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง |
title_short |
การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง |
title_full |
การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง |
title_fullStr |
การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง |
title_full_unstemmed |
การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง |
title_sort |
การปล้นและลักกระบือในทุ่งรังสิต : ภาพสะท้อนการเสื่อมคลายของระบบอุปถัมภ์แบบนักเลง |
publisher |
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2010 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13812 |
_version_ |
1681410779018952704 |