สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี

การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับต่อสื่อมวลชนของประชาชนในเขตเมืองปนชนบท และศึกษาถึงหน้าที่ของสื่อมวลชนที่มีต่อการพัฒนาประเทศ พร้อมกันนี้ต้องการที่จะทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมสมัยใหม่ การเปิดรับสื่อมวลชน การศึกษา การมีส่วนร่วมทางการเมือง และสถานภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งตัวอย่างในการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศิริชัย ศิริกายะ
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการสื่อสารมวลชน
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1780
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1780
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สื่อมวลชน
การพัฒนาสังคม
คลองหลวง (ปทุมธานี)
ธัญบุรี (ปทุมธานี)
spellingShingle สื่อมวลชน
การพัฒนาสังคม
คลองหลวง (ปทุมธานี)
ธัญบุรี (ปทุมธานี)
ศิริชัย ศิริกายะ
สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
description การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับต่อสื่อมวลชนของประชาชนในเขตเมืองปนชนบท และศึกษาถึงหน้าที่ของสื่อมวลชนที่มีต่อการพัฒนาประเทศ พร้อมกันนี้ต้องการที่จะทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมสมัยใหม่ การเปิดรับสื่อมวลชน การศึกษา การมีส่วนร่วมทางการเมือง และสถานภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เลือกมาจากครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในอำเภอคลองหลวงกับอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวนรวมทั้งสิ้น 903 ครัวเรือน โดยหัวหน้าครอบครัวหรือภรรยาหัวหน้าครอบครัว หรือผู้แทนของครอบครัวเป็นตัวแทนของครัวเรือนในการสัมภาษณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์รายบุคคล โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผู้วิจัยได้จัดทำขึ้น การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ทำขึ้นในช่วงเดือนมีนาคม ถึงเดือนเมษายน 2523 จากการทดสอบสมมุติฐานของการวิจัยปรากฏผลดังต่อไปนี้ 1. ความมากน้อยของการเปิดรับต่อสื่อมวลชนขึ้นอยู่กับความแตกต่างของค่านิยมสมัยใหม่ ระดับการศึกษา ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง และระดับสถานภาพทางเศรษฐกิจ สมมุติฐานข้อนี้ได้รับการยืนยัน 2. สื่อมวลชนแต่ละประเภททำหน้าที่ของตนต่อการพัฒนาประเทศไม่เท่าเทียมกัน สมมุติฐานข้อนี้ได้รับการยืนยัน 3. ในกรณีที่สื่อมวลชนไม่ได้ทำหน้าที่ในการพัฒนาประเทศ การสื่อสารในรูปแบบอื่นจะเข้ามาทำหน้าที่แทนสื่อมวลชน สมมุติฐานข้อนี้ได้รับการยืนยัน 4. ไม่มีความแตกต่างระหว่างการสื่อสารในรูปแบบอื่น กับสื่อมวลชนในการทำหน้าที่พัฒนาประเทศ สมมุติฐานข้อนี้ไม่ได้รับการยืนยัน 5. ค่านิยมสมัยใหม่ การเปิดรับสื่อมวลชน การศึกษา การมีส่วนร่วมทางการเมือง และสถานภาพทางเศรษฐกิจ มีความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกันในระดับสูง และตัวแปรดังกล่าวนี้สามารถถูกนำมาร่วมกันอธิบายซึ่งกันและกันได้ในอัตราที่สูงอีกด้วย สมมุติฐานข้อนี้ไม่ได้รับการยืนยัน จากข้อมูลที่ได้รับจากการสำรวจผู้วิจัยได้เสนอรูปจำลองการเปลี่ยนให้เป็นสมัยใหม่ คลองหลวง-ธัญบุรี ซึ่งได้แก่ การศึกษามีความสัมพันธ์กับสถานภาพทางเศรษฐกิจในทิศทางเดียวกันและตัวแปรทั้งสองนี้ต่างก็มีความสัมพันธ์กับการเปิดรับต่อสื่อมวลชนและการเปิดรับสื่อมวลชนมีความสัมพันธ์กับค่านิยมสมัยใหม่ รูปจำลองดังกล่าวนี้ อาจจะเป็นประโยชน์สำหรับการศึกษาต่อไปในประเทศไทย
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการสื่อสารมวลชน
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการสื่อสารมวลชน
ศิริชัย ศิริกายะ
format Technical Report
author ศิริชัย ศิริกายะ
author_sort ศิริชัย ศิริกายะ
title สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
title_short สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
title_full สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
title_fullStr สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
title_full_unstemmed สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
title_sort สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1780
_version_ 1681413549140738048
spelling th-cuir.17802008-03-06T10:28:50Z สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาในเขตเมืองปนชนบท : ศึกษาเฉพาะอำเภอคลองหลวง และอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี The mass media for the development of the rural-urban transitional area : a case study of Amphoe Khlong Luang and Amphoe Thanyaburi, Pathumthani Province ศิริชัย ศิริกายะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการสื่อสารมวลชน สื่อมวลชน การพัฒนาสังคม คลองหลวง (ปทุมธานี) ธัญบุรี (ปทุมธานี) การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับต่อสื่อมวลชนของประชาชนในเขตเมืองปนชนบท และศึกษาถึงหน้าที่ของสื่อมวลชนที่มีต่อการพัฒนาประเทศ พร้อมกันนี้ต้องการที่จะทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมสมัยใหม่ การเปิดรับสื่อมวลชน การศึกษา การมีส่วนร่วมทางการเมือง และสถานภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เลือกมาจากครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในอำเภอคลองหลวงกับอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวนรวมทั้งสิ้น 903 ครัวเรือน โดยหัวหน้าครอบครัวหรือภรรยาหัวหน้าครอบครัว หรือผู้แทนของครอบครัวเป็นตัวแทนของครัวเรือนในการสัมภาษณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์รายบุคคล โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผู้วิจัยได้จัดทำขึ้น การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ทำขึ้นในช่วงเดือนมีนาคม ถึงเดือนเมษายน 2523 จากการทดสอบสมมุติฐานของการวิจัยปรากฏผลดังต่อไปนี้ 1. ความมากน้อยของการเปิดรับต่อสื่อมวลชนขึ้นอยู่กับความแตกต่างของค่านิยมสมัยใหม่ ระดับการศึกษา ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง และระดับสถานภาพทางเศรษฐกิจ สมมุติฐานข้อนี้ได้รับการยืนยัน 2. สื่อมวลชนแต่ละประเภททำหน้าที่ของตนต่อการพัฒนาประเทศไม่เท่าเทียมกัน สมมุติฐานข้อนี้ได้รับการยืนยัน 3. ในกรณีที่สื่อมวลชนไม่ได้ทำหน้าที่ในการพัฒนาประเทศ การสื่อสารในรูปแบบอื่นจะเข้ามาทำหน้าที่แทนสื่อมวลชน สมมุติฐานข้อนี้ได้รับการยืนยัน 4. ไม่มีความแตกต่างระหว่างการสื่อสารในรูปแบบอื่น กับสื่อมวลชนในการทำหน้าที่พัฒนาประเทศ สมมุติฐานข้อนี้ไม่ได้รับการยืนยัน 5. ค่านิยมสมัยใหม่ การเปิดรับสื่อมวลชน การศึกษา การมีส่วนร่วมทางการเมือง และสถานภาพทางเศรษฐกิจ มีความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกันในระดับสูง และตัวแปรดังกล่าวนี้สามารถถูกนำมาร่วมกันอธิบายซึ่งกันและกันได้ในอัตราที่สูงอีกด้วย สมมุติฐานข้อนี้ไม่ได้รับการยืนยัน จากข้อมูลที่ได้รับจากการสำรวจผู้วิจัยได้เสนอรูปจำลองการเปลี่ยนให้เป็นสมัยใหม่ คลองหลวง-ธัญบุรี ซึ่งได้แก่ การศึกษามีความสัมพันธ์กับสถานภาพทางเศรษฐกิจในทิศทางเดียวกันและตัวแปรทั้งสองนี้ต่างก็มีความสัมพันธ์กับการเปิดรับต่อสื่อมวลชนและการเปิดรับสื่อมวลชนมีความสัมพันธ์กับค่านิยมสมัยใหม่ รูปจำลองดังกล่าวนี้ อาจจะเป็นประโยชน์สำหรับการศึกษาต่อไปในประเทศไทย The main objectives of this research are (1) to study the mass media exposure behavior of the population in the rural-urban transitional area and (2) to study the functions of the mass media for its development, and (3) to test the relationship among these variables: modernity, mass media exposure, literacy, political participation, and economic status. The sample of this study was selected form resisdents of Amphoe Khlong Luang and Amphoe Thanyaburi, Pathumthani Province, totaling 903 households. The interview was performed through either the head of the household or his wife or his representative. The individual interview with questionnaires prepared by the researcher is the method of data collection. The data were collected during the months of March and April, 1980. From the hypothesis testing, the results turn out as follow: 1. The degree of mass media exposure depends upon modernity, literacy, occupations, political participation, and economic status. This hypothesis is confirmed. 2. Each mass mediumfunctions differently in the development task. This hypothesis is also confirmed. 3. In case the mass media do not function in the development task, other communication channels will replace their role. This hypothesis is confirmed. 4. There are no differences between the other communication channels and the mass media in their functions for the development task. This hypothesis is not confirmed. 5. Modernity, mass media exposure, literacy, political participation, and economic status are, to a high degree, positively correlated and these variables are mutally explanatory, if used jointly, to a high degree too. This hypothesis is not confirmed. According to the data collected from the survey, the researcher suggests a model for the modernity process of Khlong Luang-Thanyaburi. This model suggests that literacy has positive correlation with economic status and these variables also have positive correlation with the mass media exposure. Also, the mass media exposure has positive relationship with modernity. This model will be of great use to further study in Thailand. 2006-08-15T08:54:40Z 2006-08-15T08:54:40Z 2525 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1780 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 63187375 bytes application/pdf application/pdf ไทย (ภาคกลาง) ปทุมธานี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย