การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาค่าแผกเหล่าโดยใช้ค่าชุดสี่ และเปรียบเทียบจำนวนค่าแผกเหล่าที่สามารถตรวจหาได้ถูกต้อง จากเกณฑ์มาตรฐานที่พัฒนาขึ้น 5 เกณฑ์ และศึกษาลักษณะการแจกแจงของค่าสัมบูรณ์ของค่ามัธยฐานค่าชุดสี่ เมื่อกลุ่มตัวอย่างได้รับการสุ่มจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ จำนวนกลุ่มตัวอย่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เรวดี อันนันนับ
Other Authors: ดิเรก ศรีสุโข
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19609
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.19609
record_format dspace
spelling th-cuir.196092012-05-15T03:58:58Z การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่ A detection of outlier in completely randomized experimental design using tetrads เรวดี อันนันนับ ดิเรก ศรีสุโข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ค่าแผกเหล่า วิธีมอนติคาร์โล การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาค่าแผกเหล่าโดยใช้ค่าชุดสี่ และเปรียบเทียบจำนวนค่าแผกเหล่าที่สามารถตรวจหาได้ถูกต้อง จากเกณฑ์มาตรฐานที่พัฒนาขึ้น 5 เกณฑ์ และศึกษาลักษณะการแจกแจงของค่าสัมบูรณ์ของค่ามัธยฐานค่าชุดสี่ เมื่อกลุ่มตัวอย่างได้รับการสุ่มจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองเป็น 3, 5 และ 7 กลุ่ม ขนาดกลุ่มตัวอย่างเป็น 11, 21 และ 31 โดยมีค่าแผกเหล่า 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง น้อย ทำการทดลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โลซิมูเลชั่น โดยจำลองการทดลองด้วยคอมพิวเตอร์ กรณีละ 2,000 ครั้ง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่อตรวจสอบค่าแผกเหล่าทั้ง 3 ระดับ โดยใช้ค่าชุดสี่ ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานที่พัฒนาขึ้น ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1.1 การใช้ค่าชุดสี่ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานที่ 5 (DC 5) สามารถตรวจหาค่าแผกเหล่าระดับมากได้ถูกต้องมากที่สุด โดยตรวจหาได้ถูกต้องเกินกว่า 95% 1.2 การใช้ค่าชุดสี่ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานที่ 4 (DC 4) สามารถตรวจหาค่าแผกเหล่าระดับปานกลางได้ถูกต้องมากที่สุด โดยตรวจหาได้ถูกต้องตั้งแต่ 90%-94.99% 1.3 การใช้ค่าชุดสี่ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานที่ 3 (DC 3) สามารถตรวจหาค่าแผกเหล่าระดับน้อยได้ถูกต้องมากที่สุด โดยตรวจหาได้ถูกต้องตั้งแต่ 85%-89.99% 2. ค่าสัมบูรณ์ของค่ามัธยฐานชุดสี่มีลักษณะการแจกแจงโค้งเดียว และเบ้ไปทางขวา The purposes of this study were to detect the outliers using tetrads technique, to compare the validity of the detection among 5 detection criterions, and also to investigate the distribution of median of tetrads under the distribution of non outlier. The Monte Carlo simulation technique was employed for the study. The simulation were made under the differrent number of samples as 3, 5, 7 and differrent sample sizes as 11, 12, 13 and the level of outliers were large, moderate and small. The results of this study were as follow : 1. The detection of 3 degrees of outliers by using tetrad technique with the developed Detection Criterion (DC) were as follow 1.1 Using tetrads with Detection Criterion No.5 (DC5) could correctly detect more than 95% of the large outliers. 1.2 using tetrads with Detection Criterion NO.4 (DC4) could correctly detect 90-94.99% of the moderate outliers. 1.3 Using tetrads with Detection Criterion NO.3 (DC3) could correctly detect 85-89.99% of the small outliers. 2. The absolute value of median of tetrads was a unimoldal distribution with positive skewness. 2012-05-15T03:58:57Z 2012-05-15T03:58:57Z 2539 Thesis 9746359851 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19609 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 850785 bytes 1073728 bytes 880006 bytes 877721 bytes 2755266 bytes 804126 bytes 823263 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ค่าแผกเหล่า
วิธีมอนติคาร์โล
การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์)
spellingShingle ค่าแผกเหล่า
วิธีมอนติคาร์โล
การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์)
เรวดี อันนันนับ
การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่
description การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาค่าแผกเหล่าโดยใช้ค่าชุดสี่ และเปรียบเทียบจำนวนค่าแผกเหล่าที่สามารถตรวจหาได้ถูกต้อง จากเกณฑ์มาตรฐานที่พัฒนาขึ้น 5 เกณฑ์ และศึกษาลักษณะการแจกแจงของค่าสัมบูรณ์ของค่ามัธยฐานค่าชุดสี่ เมื่อกลุ่มตัวอย่างได้รับการสุ่มจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองเป็น 3, 5 และ 7 กลุ่ม ขนาดกลุ่มตัวอย่างเป็น 11, 21 และ 31 โดยมีค่าแผกเหล่า 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง น้อย ทำการทดลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โลซิมูเลชั่น โดยจำลองการทดลองด้วยคอมพิวเตอร์ กรณีละ 2,000 ครั้ง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่อตรวจสอบค่าแผกเหล่าทั้ง 3 ระดับ โดยใช้ค่าชุดสี่ ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานที่พัฒนาขึ้น ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1.1 การใช้ค่าชุดสี่ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานที่ 5 (DC 5) สามารถตรวจหาค่าแผกเหล่าระดับมากได้ถูกต้องมากที่สุด โดยตรวจหาได้ถูกต้องเกินกว่า 95% 1.2 การใช้ค่าชุดสี่ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานที่ 4 (DC 4) สามารถตรวจหาค่าแผกเหล่าระดับปานกลางได้ถูกต้องมากที่สุด โดยตรวจหาได้ถูกต้องตั้งแต่ 90%-94.99% 1.3 การใช้ค่าชุดสี่ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐานที่ 3 (DC 3) สามารถตรวจหาค่าแผกเหล่าระดับน้อยได้ถูกต้องมากที่สุด โดยตรวจหาได้ถูกต้องตั้งแต่ 85%-89.99% 2. ค่าสัมบูรณ์ของค่ามัธยฐานชุดสี่มีลักษณะการแจกแจงโค้งเดียว และเบ้ไปทางขวา
author2 ดิเรก ศรีสุโข
author_facet ดิเรก ศรีสุโข
เรวดี อันนันนับ
format Theses and Dissertations
author เรวดี อันนันนับ
author_sort เรวดี อันนันนับ
title การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่
title_short การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่
title_full การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่
title_fullStr การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่
title_full_unstemmed การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่
title_sort การตรวจหาค่าแผกเหล่าในแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์โดยใช้ชุดสี่
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19609
_version_ 1681413776290611200