ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การวิจัยในเรื่องประสิทธิภาพทางโครงสร้างของอาคารตามคณะต่างๆ ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีอายุการใช้งานตั้งแต่สองปีขึ้นไป ได้กระทำโดยมีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบโครงสร้างและปัญหาอันเกี่ยวกับการทรุดตัวของอาคาร ตลอดถึงการแตกร้าว อันเป็นเหตุให้เกิดการเสียหายแก่ตัวอาคาร และอาจจะเป็นอันตรายแก่ผู้ใช้อาคาร...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2236 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.2236 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.22362008-02-18T12:33:01Z ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นิวัตต์ ดารานันท์ ทักษิณ เทพชาตรี ต่อตระกูล ยมนาค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคารเรียน สถาบันอุดมศึกษา--อาคาร การวิจัยในเรื่องประสิทธิภาพทางโครงสร้างของอาคารตามคณะต่างๆ ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีอายุการใช้งานตั้งแต่สองปีขึ้นไป ได้กระทำโดยมีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบโครงสร้างและปัญหาอันเกี่ยวกับการทรุดตัวของอาคาร ตลอดถึงการแตกร้าว อันเป็นเหตุให้เกิดการเสียหายแก่ตัวอาคาร และอาจจะเป็นอันตรายแก่ผู้ใช้อาคาร รวมทั้งการทำข้อเสนอแนะต่อทางมหาวิทยาลัย เพื่อทำการปรับปรุงแก้ไขอาคารที่มีปัญหาในด้านโครงสร้างตามลำดับความสำคัญของปัญหา คณะผู้วิจัยได้ทำแบบฟอร์มสำหรับใช้ในการตรวจสอบและเก็บข้อมูลทางด้านประสิทธิภาพของโครงสร้างของอาคารประเภทห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องธุรการ ห้องพักอาศัย ซึ่งอยู่ในขอบเขตการรับผิดชอบของโครงการวิจัยนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏว่า ความเสียหายส่วนใหญ่ของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แก่ 1. การแตกร้าวของผนังระหว่างผนังกับเสา ผนังกับคาน และบริเวณวงกบประตูหน้าต่าง 2. การรั่วซึมของน้ำฝนผ่านเคร่า และฝ้าเพดาน 3. การทรุดของพื้นทางเท้ารอบบริเวณอาคาร 4. พื้นชั้นล่างในตัวอาคารทรุดเป็นแอ่งตรงกลาง 5. การแตกร้าวของโครงสร้างบันไดคอนกรีตเสริมเหล็กบริเวณชานพัก 6. ปูนฉาบกระเทาะหลุด 7. การทรุดของอาคารข้างเคียง เนื่องจากการต่อเติมภายหลังและใช้เข็มยาวไม่เท่ากัน อนึ่ง คณะผู้วิจัยได้ทำข้อเสนอแนะที่สำคัญ เพื่อป้องกันมิให้การเสียหายดังกล่าวได้เกิดขึ้นอีกในอนาคต โดยได้กล่าวไว้อย่างละเอียดในบทสรุปของงานวิจัยนี้ 2006-08-26T07:58:45Z 2006-08-26T07:58:45Z 2525 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2236 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 65423205 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคารเรียน สถาบันอุดมศึกษา--อาคาร |
spellingShingle |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคารเรียน สถาบันอุดมศึกษา--อาคาร นิวัตต์ ดารานันท์ ทักษิณ เทพชาตรี ต่อตระกูล ยมนาค ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
description |
การวิจัยในเรื่องประสิทธิภาพทางโครงสร้างของอาคารตามคณะต่างๆ ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีอายุการใช้งานตั้งแต่สองปีขึ้นไป ได้กระทำโดยมีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบโครงสร้างและปัญหาอันเกี่ยวกับการทรุดตัวของอาคาร ตลอดถึงการแตกร้าว อันเป็นเหตุให้เกิดการเสียหายแก่ตัวอาคาร และอาจจะเป็นอันตรายแก่ผู้ใช้อาคาร รวมทั้งการทำข้อเสนอแนะต่อทางมหาวิทยาลัย เพื่อทำการปรับปรุงแก้ไขอาคารที่มีปัญหาในด้านโครงสร้างตามลำดับความสำคัญของปัญหา คณะผู้วิจัยได้ทำแบบฟอร์มสำหรับใช้ในการตรวจสอบและเก็บข้อมูลทางด้านประสิทธิภาพของโครงสร้างของอาคารประเภทห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องธุรการ ห้องพักอาศัย ซึ่งอยู่ในขอบเขตการรับผิดชอบของโครงการวิจัยนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏว่า ความเสียหายส่วนใหญ่ของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แก่ 1. การแตกร้าวของผนังระหว่างผนังกับเสา ผนังกับคาน และบริเวณวงกบประตูหน้าต่าง 2. การรั่วซึมของน้ำฝนผ่านเคร่า และฝ้าเพดาน 3. การทรุดของพื้นทางเท้ารอบบริเวณอาคาร 4. พื้นชั้นล่างในตัวอาคารทรุดเป็นแอ่งตรงกลาง 5. การแตกร้าวของโครงสร้างบันไดคอนกรีตเสริมเหล็กบริเวณชานพัก 6. ปูนฉาบกระเทาะหลุด 7. การทรุดของอาคารข้างเคียง เนื่องจากการต่อเติมภายหลังและใช้เข็มยาวไม่เท่ากัน อนึ่ง คณะผู้วิจัยได้ทำข้อเสนอแนะที่สำคัญ เพื่อป้องกันมิให้การเสียหายดังกล่าวได้เกิดขึ้นอีกในอนาคต โดยได้กล่าวไว้อย่างละเอียดในบทสรุปของงานวิจัยนี้ |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา นิวัตต์ ดารานันท์ ทักษิณ เทพชาตรี ต่อตระกูล ยมนาค |
format |
Technical Report |
author |
นิวัตต์ ดารานันท์ ทักษิณ เทพชาตรี ต่อตระกูล ยมนาค |
author_sort |
นิวัตต์ ดารานันท์ |
title |
ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
title_short |
ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
title_full |
ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
title_fullStr |
ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
title_full_unstemmed |
ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
title_sort |
ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2236 |
_version_ |
1681410135365255168 |