การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ
การศึกษาพิษเฉียบพลันของสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยต่อกุ้งกุลาดำระยะโพสต์ลาวา 18, 30 และ 42 โดยใช้วิธีชีววิเคราะห์แบบน้ำนิ่ง ได้ค่า LC[subscript 50] ที่ 24 ชั่วโมง เท่ากับ 2,200 (1,966.04-2,461.80), 2,750 (2,387.15-3,168) และ 2,900 (2,495.69-3,369.80) มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ และมีค่าฟังก์ชันควา...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2616 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.2616 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ใบมะม่วง กุ้งกุลาดำ--โรค กุ้งกุลาดำ--การเลี้ยง |
spellingShingle |
ใบมะม่วง กุ้งกุลาดำ--โรค กุ้งกุลาดำ--การเลี้ยง ชลิดา ชมานนท์ สมภพ รุ่งสุภา วีณา เคยพุดซา การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ |
description |
การศึกษาพิษเฉียบพลันของสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยต่อกุ้งกุลาดำระยะโพสต์ลาวา 18, 30 และ 42 โดยใช้วิธีชีววิเคราะห์แบบน้ำนิ่ง ได้ค่า LC[subscript 50] ที่ 24 ชั่วโมง เท่ากับ 2,200 (1,966.04-2,461.80), 2,750 (2,387.15-3,168) และ 2,900 (2,495.69-3,369.80) มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ และมีค่าฟังก์ชันความลาดเอียงที่ช่วงเชื่อมั่น 95% เท่ากับ 1.505 (1.393-1.625), 1.753 (1.506-2.040) และ 1.602 (1.392-1.844) ตามลำดับ คุณสมบัติต่างๆ ของน้ำระหว่างการทดสอบพิษเฉียบพลันของสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวย พบว่า ไม่มีผลต่ออุณหภูมิของน้ำ และความเค็ม แต่มีผลให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ความเป็นกรดเป็นด่าง และความเป็นด่างทั้งหมดลดลง ส่วนปริมาณแอมโมเนียทั้งหมดเพิ่มขึ้น ซึ่งยังอยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อลูกกุ้งกุลาดำ การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งของสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยต่อเชื้อไวรัสหัวเหลืองและไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำโดยผสมสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยที่ละลายใน K-199 ให้มีความเข้มข้นเท่ากับ 10,000, 7,500, 5,000, 2,500, 1,000, 100, 10 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตรต่อเชื้อไวรัสหัวเหลืองและไวรัสตัวแดงดวงขาวที่เจือจาง 1:1,000,000 และ 1:100,000 ตามลำดับ จากนั้นนำไปฉีดเข้ากล้ามเนื้อกุ้งกุลาดำขนาดน้ำหนัก 7.09-15.68 กรัม แล้วเลี้ยงต่อเป็นเวลา 7 วัน พบว่าความเข้มข้นของสารสกัดที่ 100 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถยับยั้งเชื้อไวรัสทั้ง 2 ชนิด โดยกุ้งมีอัตรารอด 50% ซึ่งไม่แตกต่างกันทางสถิติกับความเข้มข้นที่ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร และความเข้มข้นที่สามารถยับยั้งเชื้อไวรัสทั้งสองชนิด โดยกุ้งมีอัตรารอด 100 เปอร์เซ็นต์ คือ 10,000 มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากนี้ยังพบว่า การให้กุ้งกุลาดำขนาดน้ำหนักเฉลี่ย 14.60 กรัมได้รับอาหารผสมสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยที่ระดับความเข้มข้น 2,500 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไป วันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน สามารถกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในกุ้งโดยให้ค่า phenoloxidase activity ในน้ำเลือดเพิ่มมากกว่าในกุ้งชุดควบคุมอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ ชลิดา ชมานนท์ สมภพ รุ่งสุภา วีณา เคยพุดซา |
format |
Technical Report |
author |
ชลิดา ชมานนท์ สมภพ รุ่งสุภา วีณา เคยพุดซา |
author_sort |
ชลิดา ชมานนท์ |
title |
การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ |
title_short |
การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ |
title_full |
การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ |
title_fullStr |
การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ |
title_full_unstemmed |
การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ |
title_sort |
การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2616 |
_version_ |
1681413070086209536 |
spelling |
th-cuir.26162008-01-03T09:12:04Z การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ The virucidal of Mangifera indica Linn. extracts against Yellow-head virus and systemic ectodermal and mesodermal Baculovirus on black tiger shrimp (Penaeus monodon Fabricius) ชลิดา ชมานนท์ สมภพ รุ่งสุภา วีณา เคยพุดซา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ ใบมะม่วง กุ้งกุลาดำ--โรค กุ้งกุลาดำ--การเลี้ยง การศึกษาพิษเฉียบพลันของสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยต่อกุ้งกุลาดำระยะโพสต์ลาวา 18, 30 และ 42 โดยใช้วิธีชีววิเคราะห์แบบน้ำนิ่ง ได้ค่า LC[subscript 50] ที่ 24 ชั่วโมง เท่ากับ 2,200 (1,966.04-2,461.80), 2,750 (2,387.15-3,168) และ 2,900 (2,495.69-3,369.80) มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ และมีค่าฟังก์ชันความลาดเอียงที่ช่วงเชื่อมั่น 95% เท่ากับ 1.505 (1.393-1.625), 1.753 (1.506-2.040) และ 1.602 (1.392-1.844) ตามลำดับ คุณสมบัติต่างๆ ของน้ำระหว่างการทดสอบพิษเฉียบพลันของสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวย พบว่า ไม่มีผลต่ออุณหภูมิของน้ำ และความเค็ม แต่มีผลให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ความเป็นกรดเป็นด่าง และความเป็นด่างทั้งหมดลดลง ส่วนปริมาณแอมโมเนียทั้งหมดเพิ่มขึ้น ซึ่งยังอยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อลูกกุ้งกุลาดำ การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งของสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยต่อเชื้อไวรัสหัวเหลืองและไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำโดยผสมสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยที่ละลายใน K-199 ให้มีความเข้มข้นเท่ากับ 10,000, 7,500, 5,000, 2,500, 1,000, 100, 10 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตรต่อเชื้อไวรัสหัวเหลืองและไวรัสตัวแดงดวงขาวที่เจือจาง 1:1,000,000 และ 1:100,000 ตามลำดับ จากนั้นนำไปฉีดเข้ากล้ามเนื้อกุ้งกุลาดำขนาดน้ำหนัก 7.09-15.68 กรัม แล้วเลี้ยงต่อเป็นเวลา 7 วัน พบว่าความเข้มข้นของสารสกัดที่ 100 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถยับยั้งเชื้อไวรัสทั้ง 2 ชนิด โดยกุ้งมีอัตรารอด 50% ซึ่งไม่แตกต่างกันทางสถิติกับความเข้มข้นที่ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร และความเข้มข้นที่สามารถยับยั้งเชื้อไวรัสทั้งสองชนิด โดยกุ้งมีอัตรารอด 100 เปอร์เซ็นต์ คือ 10,000 มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากนี้ยังพบว่า การให้กุ้งกุลาดำขนาดน้ำหนักเฉลี่ย 14.60 กรัมได้รับอาหารผสมสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยที่ระดับความเข้มข้น 2,500 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไป วันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน สามารถกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในกุ้งโดยให้ค่า phenoloxidase activity ในน้ำเลือดเพิ่มมากกว่าในกุ้งชุดควบคุมอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) Acute toxicity test of crude extract isolated from mango leaves (Mangifera indica L. c.v. Khiew Sawoey) on Penaeus monodon postlarvae (PL) 18, 30 and 42 stages was carried out using static bioassay system. The results indicated that the LC[subscript 50] at 24 hr was 2,200 (2,966.04-2,461.80), 2,750 (2,387.15-3,168) and 2,900 (2,495.69-3,69.80) ppm for PL18, 30 and 42, respectively. The slope function at 95% confident limit was 1.505 (1.393-1.625), 1.753 (1.506-2.040) and 1.602 (1.392-1.844) for such larval stages. Standard water quality parameters were analysed before the experiment, at 6 hr after the treatment and at the end of the experiment. While water temperature and salinity were not changed by crude extract, pH, dissolved oxygen and total alkalinity were decreased. Total ammonia nitrogen were elevated. Nevertheless, all changes in such water parameters were still be in safety limit and should not affect the mortality of the experimental Penaeus monodon larvae. A study on inhibiting effects of crude extract isolated from mango leaves (Mangifera indica L. c.v. Khiew Sawoey) against yellow head virus (YHV) and systemic ectodermal and mesodermal baculovirus (SEMBV), on Penaeus monodon was carried out. The concentrated crude extract was diluted in medium K-199 to be 10,000, 7,500, 5,000, 2,500, 1,000, 100, 10 and 1 ppm and mixed with viral solutions diluted from our stock to the concentration of 1 x 10[superscript -6] and 1 x 10[superscript -5] for YHV and SEMBV, respectively. The resulting solution was singly intramuscular injecteded into P. monodon individual which are about 7.09-15.68 gm in weight. The experimental P. monodon was carried on culture for another week. It was found that the diluted crude extract at the concentration of 100 ppm can inhibit the mortality effects resulted from these viruses. The survival rate of P. monodon in this treatment was 50% which was not satistically significant from that of the 1 ppm diluted extract. On the basis of results from this experiments, the concentration of crude extract the completely inhibit the mortality effect of these viruses was 10,000 ppm. More importantly, it was found the feeding f P. monodon (14.60 gm in weight) with diet including the crude extract at the concentration of at least 2,500 ppm twice daily for seven days can stimulate their the cellular immunity. This indicated by a significant elevation in phenoloxidase activity in the haemolymph of the treated P. monodon in comparision of that of the control (p<0.01). ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2540 2006-09-19T03:49:56Z 2006-09-19T03:49:56Z 2540 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2616 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8211877 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |