การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบมะม่วงต่อเชื้อไวรัสหัวเหลือง และเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ
การศึกษาพิษเฉียบพลันของสารสกัดหยาบจากใบมะม่วงเขียวเสวยต่อกุ้งกุลาดำระยะโพสต์ลาวา 18, 30 และ 42 โดยใช้วิธีชีววิเคราะห์แบบน้ำนิ่ง ได้ค่า LC[subscript 50] ที่ 24 ชั่วโมง เท่ากับ 2,200 (1,966.04-2,461.80), 2,750 (2,387.15-3,168) และ 2,900 (2,495.69-3,369.80) มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ และมีค่าฟังก์ชันควา...
Saved in:
Main Authors: | ชลิดา ชมานนท์, สมภพ รุ่งสุภา, วีณา เคยพุดซา |
---|---|
Other Authors: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2616 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Similar Items
-
การค้นหายีนที่มีปฏิกิริยากับไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้งกุลาดำ
by: เอี้อมนัส อินทรผาด
Published: (2545) -
การตอบสนองแบบกึ่งจำเพาะของภูมิคุ้มกันกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon fabricius) ต่อเชื้อไวรัสหัวเหลืองและเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว
by: จรีพร เรืองศรี
Published: (2546) -
การศึกษาการเกิดโรคและความรุนแรงของเชื้อ Vibrio harveyi ในกุ้งกุลาดำ
by: จรีพร เรืองศรี, et al.
Published: (2543) -
การสร้างเปลือกไข่ของกุ้งกุลาดำ
by: วานีตา พุฒวัจน์
Published: (2011) -
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของการติดเชื้อไวรัสเอ็มบีวีในกุ้งกุลาดำ
by: รัชนี โชติกจินดา
Published: (2547)