การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย
ศึกษาความเป็นไปได้ ในการย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือมูร่าห์และกระบือปลักไทย โดยทำการเก็บตัวอ่อนจากการตกไข่ตามธรรมชาติหรือหลังการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนแพรกแนนแมร์ซีรัม โกนาโดโทรปิน (พี.เอ็ม.เอส.จี) ในขนาด 2400-2800 ไอยู จากกระบือมูร่าห์จำนวน 5 ตัว เก็บตัวอ่อนจากการตกไข่ธรรมชาติได้ตัวอ่อน 85% (4/5) โดยมีตั...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2622 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.2622 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.26222008-01-03T02:53:09Z การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย Embryo transfer between Murrah buffalo and swamp buffalo มงคล เตชะกำพุ พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป ชัยณรงค์ โลหชิต โคบายาชิ, กุนจิโร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ ไม่มีข้อมูล โค--การย้ายฝากตัวอ่อน กระบือปลัก กระบือมูร่าห์ ศึกษาความเป็นไปได้ ในการย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือมูร่าห์และกระบือปลักไทย โดยทำการเก็บตัวอ่อนจากการตกไข่ตามธรรมชาติหรือหลังการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนแพรกแนนแมร์ซีรัม โกนาโดโทรปิน (พี.เอ็ม.เอส.จี) ในขนาด 2400-2800 ไอยู จากกระบือมูร่าห์จำนวน 5 ตัว เก็บตัวอ่อนจากการตกไข่ธรรมชาติได้ตัวอ่อน 85% (4/5) โดยมีตัวอ่อนปกติเท่ากับ 75% (3/4) และจากการกระตุ้นการตกไข่เพิ่ม พบว่าการตอบสองเฉลี่ย (ในแง่ของจำนวนคอร์ปัส ลูเทียม และฟอลลิเกิล phi > 5 มม.) เท่ากับ 11.0 +- 3.8 จำนวนตกไขาเฉลี่ย/ตัว เท่ากับ 4.4 +- 4.3 มีอัตราการเก็บตัวอ่อนเท่ากับ 45.5% (10/22) ตัวอ่อนปกติที่ได้ทั้งหมด 8 ตัว นำไปย้ายฝากในกระบือปลักตัวรับที่มีวงจรการเป็นสัดใกล้เครียงหรือแตกต่างกันไม่เกิน 24 ชั่วโมง ผลการตรวจการตั้งท้องที่ประมาณ 2-3 เดือน หลังย้ายฝากไม่พบว่ากระบือปลักตัวรับการมีการตั้งท้อง อย่างไรก็ตามพบว่ากระบือปลักตัวรับ 4 ใน 7 ตัว มีแนวโน้มของการพัฒนาของตัวอ่อนในระยะแรก แต่ไม่สามารถเจริญจนสิ้นสุดการตั้งท้องได้ เนื่องจากการตรวจวัดระดับโปรเจาเตอโรนได้ในระดับสูงที่ 21 วัน ของรอบการเป็นสัด The feasibilty of embryo transfer between Murrah bufflo to Thai swamp was studied. Embryos were collected by non surgical method from five Murrah buffaloes after single ovulation or after superovulation. From single egg collection, 85% (4/5) of recovery rate and 75% (3/4) of normality rate were obtained. While with the superovulation by PMSG at dose of 2400-2800 IU, the avergae ovarian response in term of corpus lutea and follicles phi> 5 mm. was 11.0 +- 3.8 and the ovulation was 4.4 +- 4.3. The percentage of recovered eggs was 45.5% (10/22). Eight normal embryos (1/8 from single egg collection and 7/8 from superovulation) were transferred to seven recipients. Pregnancy dianosis was performed by progesterone assay and rectal palpation at 60-90 days after transfer. No pregnancy after was found, but four from seven recipients had a high level of progesterone at Day 21 of estrus cycle. This showed that Nurrah buffalo embryo can survive in uterus of swamp buffalo recipient but the development can not continueuntil term. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2006-09-19T06:00:12Z 2006-09-19T06:00:12Z 2533 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2622 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8256542 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
โค--การย้ายฝากตัวอ่อน กระบือปลัก กระบือมูร่าห์ |
spellingShingle |
โค--การย้ายฝากตัวอ่อน กระบือปลัก กระบือมูร่าห์ มงคล เตชะกำพุ พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป ชัยณรงค์ โลหชิต โคบายาชิ, กุนจิโร การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย |
description |
ศึกษาความเป็นไปได้ ในการย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือมูร่าห์และกระบือปลักไทย โดยทำการเก็บตัวอ่อนจากการตกไข่ตามธรรมชาติหรือหลังการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนแพรกแนนแมร์ซีรัม โกนาโดโทรปิน (พี.เอ็ม.เอส.จี) ในขนาด 2400-2800 ไอยู จากกระบือมูร่าห์จำนวน 5 ตัว เก็บตัวอ่อนจากการตกไข่ธรรมชาติได้ตัวอ่อน 85% (4/5) โดยมีตัวอ่อนปกติเท่ากับ 75% (3/4) และจากการกระตุ้นการตกไข่เพิ่ม พบว่าการตอบสองเฉลี่ย (ในแง่ของจำนวนคอร์ปัส ลูเทียม และฟอลลิเกิล phi > 5 มม.) เท่ากับ 11.0 +- 3.8 จำนวนตกไขาเฉลี่ย/ตัว เท่ากับ 4.4 +- 4.3 มีอัตราการเก็บตัวอ่อนเท่ากับ 45.5% (10/22) ตัวอ่อนปกติที่ได้ทั้งหมด 8 ตัว นำไปย้ายฝากในกระบือปลักตัวรับที่มีวงจรการเป็นสัดใกล้เครียงหรือแตกต่างกันไม่เกิน 24 ชั่วโมง ผลการตรวจการตั้งท้องที่ประมาณ 2-3 เดือน หลังย้ายฝากไม่พบว่ากระบือปลักตัวรับการมีการตั้งท้อง อย่างไรก็ตามพบว่ากระบือปลักตัวรับ 4 ใน 7 ตัว มีแนวโน้มของการพัฒนาของตัวอ่อนในระยะแรก แต่ไม่สามารถเจริญจนสิ้นสุดการตั้งท้องได้ เนื่องจากการตรวจวัดระดับโปรเจาเตอโรนได้ในระดับสูงที่ 21 วัน ของรอบการเป็นสัด |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ มงคล เตชะกำพุ พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป ชัยณรงค์ โลหชิต โคบายาชิ, กุนจิโร |
format |
Technical Report |
author |
มงคล เตชะกำพุ พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป ชัยณรงค์ โลหชิต โคบายาชิ, กุนจิโร |
author_sort |
มงคล เตชะกำพุ |
title |
การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย |
title_short |
การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย |
title_full |
การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย |
title_fullStr |
การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย |
title_full_unstemmed |
การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย |
title_sort |
การย้ายฝากตัวอ่อนระหว่างกระบือพันธุ์มูร่าห์และกระบือปลัก : รายงานผลการวิจัย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2622 |
_version_ |
1681411137971683328 |