การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37164 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.37164 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
หอยนางรมปากจีบ -- การเจริญเติบโต โครโมโซม การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร Saccostrea cucullata -- Growth Chromosomes |
spellingShingle |
หอยนางรมปากจีบ -- การเจริญเติบโต โครโมโซม การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร Saccostrea cucullata -- Growth Chromosomes จินตนา จินดาลิขิต การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 |
author2 |
เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ |
author_facet |
เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ จินตนา จินดาลิขิต |
format |
Theses and Dissertations |
author |
จินตนา จินดาลิขิต |
author_sort |
จินตนา จินดาลิขิต |
title |
การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata |
title_short |
การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata |
title_full |
การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata |
title_fullStr |
การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata |
title_full_unstemmed |
การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata |
title_sort |
การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ saccostrea cucullata |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37164 |
_version_ |
1681412681283665920 |
spelling |
th-cuir.371642017-03-05T02:57:49Z การเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucullata Triploid induction in hooded oyster Saccostrea cucullata จินตนา จินดาลิขิต เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ นวลมณี พงศ์ธนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย หอยนางรมปากจีบ -- การเจริญเติบโต โครโมโซม การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร Saccostrea cucullata -- Growth Chromosomes วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 การศึกษาการเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ Saccostrea cucllata แบ่งการศึกษาเป็น 3 ส่วน คือ การศึกษาคาริโอไทป์ของหอยนางรมปากจีบ การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตหอยนางรมปากจีบที่เป็นทริพลอยด์และการเปรียบเทียบวิธีการเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบ ผลการศึกษาคาริโอไทป์ของหอยนางรม ปากจีบพบว่ามีจำนวนดิพลอยด์โครโมโซมเท่ากับ 20 แท่ง ซึ่งประกอบด้วยโครโมโซมชนิดเมตาเซนตริก 14 แท่งและชนิดซับเมตาเซนตริก 6 แท่ง การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตหอยนางรมปากจีบที่เป็นทริพลอยด์โดยการเหนี่ยวนำด้วยไซโตคลาซีนบีที่ความเข้มข้น 0.5 มิลลิโมลาร์ ระยะเวลาในการเหนี่ยวนำ 15 นาที เริ่มเหนี่ยวนำภายหลังการปฏิสนธิ 15 นาที ที่อุณหภูมิ 29 ('+)(,-) 1 องศาเซลเซียส ตรวจวัดผลผลิตของทริพลอยด์ด้วยการนับจำนวนโครโมโซมพบว่าหอยนางรมในระยะโทรโคฟอร์ และอายุ 6 เดือน มีจำนวนทริพลอยด์โครโมโซมเท่ากับ 30 แห่ง และมีผลผลิตของทริพลอยด์เท่ากับ 45.34('+)(,-) 8.02 และ 3.55 ('+)(,-) 0.32 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ การทดลองนี้สรุปได้ว่ามีความเป็นไปได้ในการผลิตหอยนางรมปากจีบที่เป็นทริพลอยด์ที่อายุ 6 เดือนพบว่าหอยนางรมที่เป็นดิพลอยด์และทริพลอยด์มีอัตราการเติบโตไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การเปรียบเทียบวิธีการเหนี่ยวนำทริพลอยด์ในหอยนางรมปากจีบโดยการเหนี่ยวนำด้วย อุณหภูมิสามระดับคือ 35 37.5 และ 40 องศาเซลเซียส และระยะเวลาในการเหนี่ยวนำ 3 6 9 12 และ 15 นาที พบว่าอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียสและระยะเวลาในการเหนี่ยวนำ 12 นาที ได้ผลผลิตของทริพลอยด์ในระยะโทรโคเฟอร์สูงสุดเท่ากับ 40.11 ('+)(,-) 19.28 เปอร์เซ็นต์ สำหรับการเปรียบเทียบวิธีการเหนี่ยวนำทริพลอยด์ โดยการใช้คาเฟอีนที่อุณหภูมิ29 ('+)(,-) 1 องศาเซลเซียส การใช้คาเฟอีนร่วมกับอุณหภูมิ 40 องศา-เซลเซียส และการใช้อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ที่ระยะเวลาในการเหนี่ยวนำ6 และ 12 นาที พบว่าการใช้คาเฟอีนที่อุณหภูมิ 29 ('+)(,-) 1 องศาเซลเซียสและการใช้อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ได้ผลผลิตของทริพลอยด์สูงขึ้นเมื่อเพิ่มระยะเวลาในการเหนี่ยวนำโดยมีผลผลิตของทริพลอยด์ที่ได้เท่ากับ 13.53('+)(,-) 1.22 และ 46.53 ('+)(,-) 13.67 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ แต่การใช้คาเฟอีนร่วมกับอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ได้ผลผลิตของทริพลอยด์ลดลงโดยมีผลผลิตของทริพลอยด์ที่ได้เท่ากับ 21.78 ('+)(,-) 11.58 เปอร์เซ็นต์ดังนั้นในทางปฏิบัติได้ข้อสรุปว่าการเหนี่ยวนำด้วยอุณหภูมิสูงน่าจะมีความเหมาะสมกว่าการใช้คาเฟอีนที่อุณหภูมิ 29 (')+(,-) 1 องศาเซลเซียส และการใช้คาเฟอีนร่วมกับอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส อย่างไรก็ดีหลังจาก6 เดือน ไม่พบหอยนางรมที่เป็นทริพลอยด์จากการเหนี่ยวนำโดยการใช้อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ดังกล่าว The study of triploid induction in hooded oyster Saccostreacucullata was divided into three parts. The first part was theexamination of karyotype in this species. It was found thatdiploid chromosome number of this oyster was 20, which consistedof 14 metacentric chromosomes and 6 submetacentric chromosomes. The second part was the induction of triploid by treating thezygotes with 0.5 mM Cytochalasin B for a period of 15 min at 15 minafter fertilization and 29('+)(,-)1 degree C. The triploid yield wasestimated by direct chromosome counting. Triploid oyster had 30chromosomes. The observed triploid yields in trochophore and juvenilestages were 45, 34 ('+)(,-) 8.02 and 3 55 ('+)(,-) 0. 32%,respectively. It was indicated that triploid in hooded oyster couldpossibly be induced. At 6 months old, growth rates of triploid anddiploid oyster were not significantly different. The third part was the comparison of triploid inductionmethods. The first method was the induction of triploid by hightemperature shock at 35, 37.5 and 40 degree C with 5 differentduration times (3, 6, 9,12 and 15 min) at 15 min afterfertilization. The result showed that the most effective treatmentfor trochophore stage was at 40 degree C for 12 min which gavethe triploid yield of 40.11('+)(,-) 19.28%. The second method wasthe induction of triploid with caffeine at 29('+)(,-) degree C,caffeine at 40 degree C and temperature shock at 40 degree C for6 and 12 min at 15 min after fertilization. It was found that byincreasing duration time from 6 to 12 min, the triploid yieldwere increased, when inducing with caffeine at 29('+)(,-)1degree C and temperature shock at 40 degree C. Tripolid yieldobserved from induction with caffeinc at 29(+,-) 1 degree C,caffeine at 40 degree C and temperature shock at 40 degree Cfor 12 min starting 15 min after fertilization were 13.53('+)(,-)1.22, 21.78('+)(,-) 11.58 and 46.53('+)(,-) 13.67%,respectively. Therefore,it was concluded from this study thathigh temperature shock at 40 degree C was the most practicalmethod to induce triploid in this species. However after 6 months,there was no triploid oyster induced by temperature shock at40 degree C 2013-12-07T09:54:18Z 2013-12-07T09:54:18Z 2538 Thesis 9746319434 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37164 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |