การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษา และ 2) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี กรณีศึกษาของการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ถึงปีที่ 6 ปีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อมรรัตน์ เหลืองแสงทอง
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5881
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.5881
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)
แอสเพอร์เกอร์ซินโดรม
การเรียนรู้
spellingShingle โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)
แอสเพอร์เกอร์ซินโดรม
การเรียนรู้
อมรรัตน์ เหลืองแสงทอง
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย
description การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษา และ 2) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี กรณีศึกษาของการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ถึงปีที่ 6 ปีการศึกษา 2548 - 2549 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม อายุ 10-11 ปี ณ ช่วงเวลาที่ทำการวิจัย ที่มีลักษณะที่บ่งบอกว่าเป็นเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม จำนวน 1 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ 1) การสังเกต 2) การสัมภาษณ์ และ 3) การเขียนอัตชีวประวัติ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาในเรื่องลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษา 1.1) ข้อมูลส่วนตัวของกรณีศึกษา นักเรียนดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น มีสุขภาพแข็งแรงตามวัย แต่มีปัญหาทางด้านสังคมในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม มีปัญหาเรื่องการพูด และการใช้ภาษาสื่อสาร และมีปัญหาทางพฤติกรรม นักเรียนมีสติปัญญาดี และเรียนได้ดีในหลายวิชา รวมถึงนักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน 1.2) ลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษา 1.2.1) ลักษณะของทักษะด้านสังคม นักเรียนมีความบกพร่องในการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ไม่สามารถพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมชั้นเรียนให้เหมาะสมกับวัย ไม่สามารถแบ่งปันความสนุก และความสนใจร่วมกับผู้อื่น 1.2.2) ลักษณะของทักษะด้านภาษา นักเรียนมีปัญหาในการใช้ภาษาเพื่อการถ่ายทอดความคิด และความรู้สึก มีความสับสนในการตีความหมายทางภาษา มีการพูดไม่สรุปความ และใช้ภาษาที่เป็นทางการในการสื่อสารกับผู้อื่น 1.2.3) ลักษณะของทักษะด้านสติปัญญา นักเรียนมีสติปัญญาในระดับดี รวมถึงมีความสามารถทางภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และดนตรีในระดับที่ดีมาก และมีความจำแม่นยำดี 1.2.4) ลักษณะของพฤติกรรมต่างๆ นักเรียนมีปัญหาเกี่ยวกับพัฒนาการด้านการควบคุมกล้ามเนื้อมีปัญหาด้านประสาทสัมผัส นักเรียนชอบทำสิ่งต่างๆ ซ้ำๆ มีความคิดที่เปลี่ยนแปลงยาก และมีอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงง่าย 2) แนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี 2.1) กระบวนการของผู้ปกครองในการดูแลเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม คือ (1) บทบาทในการอบรมเลี้ยงดู บิดา มารดาเรียนรู้ และทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมเพื่อที่จะสอน และแนะนำได้อย่างถูกต้อง (2) บทบาทในการพัฒนาพฤติกรรม ผู้ปกครองรับทราบปัญหาที่เกิดขึ้น หาทางช่วยเหลืออย่างเหมาะสม และให้กำลังใจนักเรียน (3) บทบาทในการเพิ่มความรู้และประสบการณ์ ผู้ปกครองให้ข้อมูลที่มีสาระและเป็นประโยชน์กับนักเรียน และสนันสนุนให้นักเรียนเรียนกีฬาหรือดนตรีในช่วงวันหยุด (4) บทบาทในการดูแลการบ้าน และรายงาน ผู้ปกครองดูแลการทำการบ้าน ทบทวนบทเรียน ช่วยค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อทำรายงาน และสอนให้เห็นความสำคัญของความรับผิดชอบ (5) บทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ ผู้ปกครองช่วยซื้อ และเตรียมอุปกรณ์ให้นักเรียนทำรายงาน (6) บทบาทในการพัฒนาการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม ผู้ปกครองควรสนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียน (7) ผู้ปกครองมีบทบาทในการแนะนำแนวทาง การแก้ไขปัญหา และการเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ และชี้แนะให้นักเรียนเข้าใจถึงกฎที่ควรปฏิบัติ 2.2) กระบวนการของครู – อาจารย์ที่เป็นผู้ส่งเสริมการเรียนรู้เด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม คือ (1) ลักษณะของครูผู้สอนเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม ได้แก่ มีความเข้าใจ มีความอดทนสูง มีความเสียสละ มีความเมตตา และมีความ ใจเย็น (2) บทบาทในการศึกษาลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม (3) บทบาทในการสนับสนุนให้นักเรียนเรียนร่วมกับเพื่อน ครูควรเตือนเมื่อนักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ส่งเสริมให้ร่วมกิจกรรมกลุ่มกับเพื่อน และประสานความเข้าใจระหว่างนักเรียนกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน (4) บทบาทในการเสนอแนวทางการปรับพฤติกรรม ครูแนะนำให้นักเรียนเลิกแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม สอนให้รู้จักเหตุผล รู้จักควบคุมอารมณ์ ลดภาวะการอยู่กับตนเอง ลดภาวะการเห็นตนเองเป็นสำคัญ โดยให้คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น และสอนให้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางสังคม (5) บทบาทในการประสานงานกับผู้ปกครอง ครูแจ้งผู้ปกครองเพื่อทราบถึงปัญหาพฤติกรรม และปัญหาเรื่องการเรียน และพูดคุยหาแนวทางการปรับพฤติกรรม และการส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน 2.3) กระบวนการของเพื่อนร่วมชั้นเรียนกับนักเรียนที่เป็นเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม คือ (1) บทบาทในการช่วยปรับพฤติกรรมหรือลดพฤติกรรม เพื่อนร่วมชั้นเรียนมีส่วนสำคัญในการช่วยพูดเตือนสติ พูดให้กำลังใจ เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา ขอความช่วยเหลือจากครูในการแก้ไขปัญหา ชักชวนให้นักเรียนทำกิจกรรมและสนทนาร่วมกับผู้อื่น และเตือนสติให้นักเรียนหาเพื่อนคุยบ้าง (2) บทบาทในการสนับสนุน และส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียน และทำงานร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน ข้อดีของนักเรียนที่เพื่อนนึกถึง คือ นักเรียนเป็นคนอารมณ์ดี มีน้ำใจ มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีความรับผิดชอบ เป็นเด็กที่เรียนเก่ง มีสติปัญญาดี มีความจำที่แม่นยำ และสามารถเสนอความคิดเห็นที่ดี มีความคิดสร้างสรรค์ดี พูดจาสุภาพ และมีความซื่อสัตย์ 2.4) กระบวนการของนักเรียนที่เป็นเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม คือ (1) บทบาทในการกระตุ้นให้ตนเองสามารถเรียนร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน ในระยะแรกนักเรียนมักโกรธจนควบคุมสติได้ไม่ดีนัก แต่ในระยะหลังสามารถควบคุมสติตนเองได้ดีขึ้น (2) บทบาทในการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน นักเรียนเรียนรู้ที่จะปรับตัว และมีความสุขในการเรียนและทำงานร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียนมากขึ้น ส่วนความสัมพันธ์ของนักเรียนกับเพื่อนในช่วงพักจาก การเรียน นักเรียนอ่านหนังสือกับเพื่อนบ้าง หรือเล่นเกมคอมพิวเตอร์ (3) บทบาทในการปรับปรุงข้อบกพร่องทางการใช้ภาษา นักเรียนแก้ไขภาษาในการพูดสื่อความกับผู้อื่นได้ดีขึ้น สามารถสื่อสารได้เหมาะสมมากขึ้น (4) บทบาทในการควบคุมพฤติกรรมการแสดงออก นักเรียนควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดีมากขึ้น มีสติ และสามารถฝึกนั่งสมาธิได้ดี (5) บทบาทในการนำประสบการณ์ที่ผ่านมาเพื่อปรับพฤติกรรม และเพื่อพัฒนาตนเองให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข นักเรียนสามารถปรับพฤติกรรมต่างๆ ได้ดีขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
อมรรัตน์ เหลืองแสงทอง
format Technical Report
author อมรรัตน์ เหลืองแสงทอง
author_sort อมรรัตน์ เหลืองแสงทอง
title การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย
title_short การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย
title_full การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย
title_fullStr การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย
title_full_unstemmed การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย
title_sort การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5881
_version_ 1681412930135916544
spelling th-cuir.58812008-02-20T01:36:28Z การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี : การศึกษารายกรณีนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย A study of guidelines for an asperger syndrome child learning enchancement based on multigroup collaborations : A case study of an asperger syndrome student of Chulalongkorn University demonstration elementary school อมรรัตน์ เหลืองแสงทอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) แอสเพอร์เกอร์ซินโดรม การเรียนรู้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษา และ 2) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี กรณีศึกษาของการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ถึงปีที่ 6 ปีการศึกษา 2548 - 2549 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม อายุ 10-11 ปี ณ ช่วงเวลาที่ทำการวิจัย ที่มีลักษณะที่บ่งบอกว่าเป็นเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม จำนวน 1 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ 1) การสังเกต 2) การสัมภาษณ์ และ 3) การเขียนอัตชีวประวัติ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาในเรื่องลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษา 1.1) ข้อมูลส่วนตัวของกรณีศึกษา นักเรียนดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น มีสุขภาพแข็งแรงตามวัย แต่มีปัญหาทางด้านสังคมในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม มีปัญหาเรื่องการพูด และการใช้ภาษาสื่อสาร และมีปัญหาทางพฤติกรรม นักเรียนมีสติปัญญาดี และเรียนได้ดีในหลายวิชา รวมถึงนักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน 1.2) ลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษา 1.2.1) ลักษณะของทักษะด้านสังคม นักเรียนมีความบกพร่องในการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ไม่สามารถพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมชั้นเรียนให้เหมาะสมกับวัย ไม่สามารถแบ่งปันความสนุก และความสนใจร่วมกับผู้อื่น 1.2.2) ลักษณะของทักษะด้านภาษา นักเรียนมีปัญหาในการใช้ภาษาเพื่อการถ่ายทอดความคิด และความรู้สึก มีความสับสนในการตีความหมายทางภาษา มีการพูดไม่สรุปความ และใช้ภาษาที่เป็นทางการในการสื่อสารกับผู้อื่น 1.2.3) ลักษณะของทักษะด้านสติปัญญา นักเรียนมีสติปัญญาในระดับดี รวมถึงมีความสามารถทางภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และดนตรีในระดับที่ดีมาก และมีความจำแม่นยำดี 1.2.4) ลักษณะของพฤติกรรมต่างๆ นักเรียนมีปัญหาเกี่ยวกับพัฒนาการด้านการควบคุมกล้ามเนื้อมีปัญหาด้านประสาทสัมผัส นักเรียนชอบทำสิ่งต่างๆ ซ้ำๆ มีความคิดที่เปลี่ยนแปลงยาก และมีอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงง่าย 2) แนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมระดับประถมศึกษาด้วยความร่วมมือแบบพหุภาคี 2.1) กระบวนการของผู้ปกครองในการดูแลเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม คือ (1) บทบาทในการอบรมเลี้ยงดู บิดา มารดาเรียนรู้ และทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคแอสเพอร์เกอร์ซินโดรมเพื่อที่จะสอน และแนะนำได้อย่างถูกต้อง (2) บทบาทในการพัฒนาพฤติกรรม ผู้ปกครองรับทราบปัญหาที่เกิดขึ้น หาทางช่วยเหลืออย่างเหมาะสม และให้กำลังใจนักเรียน (3) บทบาทในการเพิ่มความรู้และประสบการณ์ ผู้ปกครองให้ข้อมูลที่มีสาระและเป็นประโยชน์กับนักเรียน และสนันสนุนให้นักเรียนเรียนกีฬาหรือดนตรีในช่วงวันหยุด (4) บทบาทในการดูแลการบ้าน และรายงาน ผู้ปกครองดูแลการทำการบ้าน ทบทวนบทเรียน ช่วยค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อทำรายงาน และสอนให้เห็นความสำคัญของความรับผิดชอบ (5) บทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ ผู้ปกครองช่วยซื้อ และเตรียมอุปกรณ์ให้นักเรียนทำรายงาน (6) บทบาทในการพัฒนาการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม ผู้ปกครองควรสนับสนุนให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียน (7) ผู้ปกครองมีบทบาทในการแนะนำแนวทาง การแก้ไขปัญหา และการเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ และชี้แนะให้นักเรียนเข้าใจถึงกฎที่ควรปฏิบัติ 2.2) กระบวนการของครู – อาจารย์ที่เป็นผู้ส่งเสริมการเรียนรู้เด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม คือ (1) ลักษณะของครูผู้สอนเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม ได้แก่ มีความเข้าใจ มีความอดทนสูง มีความเสียสละ มีความเมตตา และมีความ ใจเย็น (2) บทบาทในการศึกษาลักษณะของเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม (3) บทบาทในการสนับสนุนให้นักเรียนเรียนร่วมกับเพื่อน ครูควรเตือนเมื่อนักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ส่งเสริมให้ร่วมกิจกรรมกลุ่มกับเพื่อน และประสานความเข้าใจระหว่างนักเรียนกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน (4) บทบาทในการเสนอแนวทางการปรับพฤติกรรม ครูแนะนำให้นักเรียนเลิกแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม สอนให้รู้จักเหตุผล รู้จักควบคุมอารมณ์ ลดภาวะการอยู่กับตนเอง ลดภาวะการเห็นตนเองเป็นสำคัญ โดยให้คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น และสอนให้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางสังคม (5) บทบาทในการประสานงานกับผู้ปกครอง ครูแจ้งผู้ปกครองเพื่อทราบถึงปัญหาพฤติกรรม และปัญหาเรื่องการเรียน และพูดคุยหาแนวทางการปรับพฤติกรรม และการส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน 2.3) กระบวนการของเพื่อนร่วมชั้นเรียนกับนักเรียนที่เป็นเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม คือ (1) บทบาทในการช่วยปรับพฤติกรรมหรือลดพฤติกรรม เพื่อนร่วมชั้นเรียนมีส่วนสำคัญในการช่วยพูดเตือนสติ พูดให้กำลังใจ เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา ขอความช่วยเหลือจากครูในการแก้ไขปัญหา ชักชวนให้นักเรียนทำกิจกรรมและสนทนาร่วมกับผู้อื่น และเตือนสติให้นักเรียนหาเพื่อนคุยบ้าง (2) บทบาทในการสนับสนุน และส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียน และทำงานร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน ข้อดีของนักเรียนที่เพื่อนนึกถึง คือ นักเรียนเป็นคนอารมณ์ดี มีน้ำใจ มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีความรับผิดชอบ เป็นเด็กที่เรียนเก่ง มีสติปัญญาดี มีความจำที่แม่นยำ และสามารถเสนอความคิดเห็นที่ดี มีความคิดสร้างสรรค์ดี พูดจาสุภาพ และมีความซื่อสัตย์ 2.4) กระบวนการของนักเรียนที่เป็นเด็กแอสเพอร์เกอร์ซินโดรม คือ (1) บทบาทในการกระตุ้นให้ตนเองสามารถเรียนร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน ในระยะแรกนักเรียนมักโกรธจนควบคุมสติได้ไม่ดีนัก แต่ในระยะหลังสามารถควบคุมสติตนเองได้ดีขึ้น (2) บทบาทในการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน นักเรียนเรียนรู้ที่จะปรับตัว และมีความสุขในการเรียนและทำงานร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียนมากขึ้น ส่วนความสัมพันธ์ของนักเรียนกับเพื่อนในช่วงพักจาก การเรียน นักเรียนอ่านหนังสือกับเพื่อนบ้าง หรือเล่นเกมคอมพิวเตอร์ (3) บทบาทในการปรับปรุงข้อบกพร่องทางการใช้ภาษา นักเรียนแก้ไขภาษาในการพูดสื่อความกับผู้อื่นได้ดีขึ้น สามารถสื่อสารได้เหมาะสมมากขึ้น (4) บทบาทในการควบคุมพฤติกรรมการแสดงออก นักเรียนควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดีมากขึ้น มีสติ และสามารถฝึกนั่งสมาธิได้ดี (5) บทบาทในการนำประสบการณ์ที่ผ่านมาเพื่อปรับพฤติกรรม และเพื่อพัฒนาตนเองให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข นักเรียนสามารถปรับพฤติกรรมต่างๆ ได้ดีขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง This research aims to provide a case study of an Asperger Syndrome Child by 1) analyzing an Asperger Syndrome Child and 2) studying the guidelines for an Asperger Syndrome child learning enchancement based on multigroup collaborations. The case study is an Asperger Syndrome student in the fifth and sixth grade in the academic year 2005-2006 of Chulalongkorn University Demonstration Elementary School. He was10-11 years old during research. Data were collected by means of observing, interviewing and autobiography. The research results were as follows:- 1. The results of analyzing an Asperger Syndrome child Personal data of the case study The student lives in a warm family environment. He is in good health but he has some social impairments, speech and language problems and other behavioral difficulties. His school work has shown he is highly intelligent in some subjects. He likes reading. 1.2 Characteristics of an Asperger Syndrome child 1.2.1 Social Impairments Skills The student has an impairment in social interaction. He cannot develop peer relationships appropriately to developmental level. He does not interact with other people to share enjoyment and interests. 1.2.2 Speech and Language Peculiarities The student has difficulties using language in order to communicate his ideas and emotions, interpret and abridge his speech. He tends to use formal language to communicate with other people. 1.2.3 Intelligent Skills His good level of intelligence is shown in his ability to study English, Science and Music to a high level. He can memorize accurately. 1.2.4 Other Behaviors Problems The student has some motor and sensory problems. He is frequently overly sensitive to sounds, tastes, smells and sights and is prone to repetitive mannerisms. He struggles to change his ideas and can be sensitive and tempermental. 2. The guidelines for the Asperger Syndrome child learning enchancement based on multigroup collaborations 2.1 The duties of the Asperger Syndrome Child ’s parents: (1) The role of bringing up the Asperger Syndrome child. Parents have to learn and understand about Asperger Syndrome in order to teach and advise correctly; (2) The role of developing behavior. After identifying the problem, parents find good guidelines for solving the trouble accurately, encouraging and pleasing him; (3) The role of teaching extra knowledge and experience. Parents give beneficial information and support the student to learn sports or music during the weekend; (4) The role of supervising homework. Parents check his homework, review lessons, help him to search for information and teach the importance of responsibility; (5) The role of supporting educational needs. Parents have to buy and prepare materials for education to supplement school work; (6) The role of development social skills. Parents should support the student to join school activities; (7) The role of solving the problems. Parents advise the child how to solve problems and potential conflicts in different situations by giving appropriate guidelines for the child to deal with situations. 2.2 The duties of teachers in learning enchancement for the Asperger Syndrome child: (1) The Asperger Syndrome student ’s teachers need to be understanding, patient, tolerant and calm; (2) The role of studying the nature of the Asperger Syndrome child; (3) The role of supporting the student to study with his peers. Teachers should motivate the student to pay attention and participate in activities with his peers, warn if the student behaves inappropriately and monitor friendships between the student and his peers; (4) The role of proposing ways to adapt behavior. Teachers advise the student to stop certain inappropriate behavior, teach him to understand the reasoning, learn how to control his temper, reduce his ego, conduct and follow social rules and teach ways how to interact with others; (5) The role of contacting parents. Teachers have a duty to inform parents about student ’s behavior and learning problems and to share ideas in order to establish ways for an Asperger Syndrome child learning enchancement and to adapt behavior. 2.3 The duties of the Asperger Syndrome student ’s peers: (1) The role of helping the student to adapt or reduce some inappropriate behavior. Peers play an important part in helping an Asperger Syndrome child through warning, encouraging, offering ways to solve problems, asking for teachers ’help, persuading the student to join activities and advising him to talk with someone; (2) The role of supporting and learning enchancement. Peers think that the good manners of the Asperger Syndrome child are joyful, humanitarian, responsible, smart, creative, polite and truthful. Moreover, he pays attention to study, memorizes accurately and proposes good ideas. 2.4 The duties of the Asperger Syndrome student: (1) The role of encouraging himself to study with peers. Initially he looses his temper easily but he learns to recover quickly; (2) The role of interacting with peers. He learns to adapt and enjoy studying and working with peers. After class he sometimes likes to play computer games and read books with friends; (3) The role of using language and speech. He has improved his language and can communicate more appropriately; (4) The role of controlling behavior. He can control his emotions and can concentrate; (5) The role of using past experiences to adapt behavior and develop himself to interact with others. He can adapt his behavior well and continuously. เงินทุนเพื่อการวิจัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2550 2008-02-20T01:36:28Z 2008-02-20T01:36:28Z 2550 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5881 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1555984 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย