การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย
ทำการดัดแปรพื้นผิวพอลิสไตรีนไดไวนิลเบนซีน (PS-DVB) ให้มีหมู่เบนโซไทเอโซล โดยเริ่มจากการดัดแปรพื้นผิวพอลิสไตรีนไดไวนิลเบนซีนให้มีหมู่อะมิโน (amino-PS-DVB)จากนั้นนำมาทำปฏิกิริยากับสารประกอบเอธิล 2-เบนไซไทเอโซลิลอะซิเตด (BA) ได้เรซินที่มีการเชื่อมต่อด้วยพันธะเอไมด์ จากนั้นตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่เตรียมได้ด้...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2008
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6105 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.6105 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.61052008-02-29T01:50:34Z การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย Extraction of toxic metal ions using a benzothiazole based chelating resin อภิชาติ อิ่มยิ้ม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ ไอออนโลหะ การสกัด (เคมี) ทำการดัดแปรพื้นผิวพอลิสไตรีนไดไวนิลเบนซีน (PS-DVB) ให้มีหมู่เบนโซไทเอโซล โดยเริ่มจากการดัดแปรพื้นผิวพอลิสไตรีนไดไวนิลเบนซีนให้มีหมู่อะมิโน (amino-PS-DVB)จากนั้นนำมาทำปฏิกิริยากับสารประกอบเอธิล 2-เบนไซไทเอโซลิลอะซิเตด (BA) ได้เรซินที่มีการเชื่อมต่อด้วยพันธะเอไมด์ จากนั้นตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่เตรียมได้ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ (EA) และเทคนิคอินฟราเรดสเปกโทรสโคปี (IR) นำเรซินที่เตรียมได้มาใช้สกัดไอออนแคดเมียม ทองแดง และตะกั่วในน้ำ ทำการวิเคราะห์ปริมาณโลหะต่างๆด้วยเทคนิคเฟลมอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรเมตรี (FAAS) โดยทำการศึกษาถึงสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการสกัดแบบแบทช์ ได้แก่ ค่า pH ของสารละลาย ระยะเวลาที่ใช้ในการการสกัด ความจุการดูดซับ และผลของไอออนอื่นๆ พบว่า pH ที่เหมาะสมสำหรับการสกัดแคดเมียม ทองแดง และตะกั่ว เท่ากับ 7.0 8.0 และ 6.0 ตามลำดับเวลาที่ทำให้สารสกัดเข้าสู่สมดุลเท่ากับ 20 นาทีสำหรับแคดเมียมและทองแดง และ 40 นาทีสำหรับตะกั่ว พฤติกรรมการดูดซับเป็นแบบแลงเมียร์ ไอออนโลหะสามารถชะออกจากเรซินได้ด้วยสารละลายกรดไนทริกเข้มข้น 1.0 M โดยมีเปอร์เซ็นต์การชะเท่ากับ 74.95 และ82% สำหรับแคดเมียม ทองแดง และตะกั่ว ตามลำดับ ไอออนอื่นในสารละลายส่งผลต่อประสิทธิภาพการสกัด สามารถนำเรซินไปใช้สกัดโลหะในน้ำเสียจริงได้ Polystyrene-divinylbenzene resin (PS-DVB) was functionalized with a benzothiazole group on the surface. PS-DVB with amino group was initially prepared by nitration and amination reactions and subsequently treated with ethyl 2-benzothiazolylacetate to obtain the chelating resin with an amide linkage. The resin was characterized by elemental analysis and infrared spectroscopy and then evaluated for its extraction of Cd (II), Cu(II) and Pb(II) ions in water before their determinations by flame atomic absorption spectrometry. Extraction conditions for batch method such as pH of solution, extraction time, and absorption isotherms were optimized. The optimum pH for extraction of Cd(II), Cu(II) and Pb(II) are 7.0, 8.0, and 6.0, respectively while the equilibrium of Cd(II), Cu(II) were reached within 20 min and 40 min for Pb(II). Adsorption behavior of all metal ions followed Langmuir adsorption isotherm. The sorbed metals could be stripped by 1.0 M nitric acid solution with a yield of 74, 95, and 82% for Cd(II), Cu(II), and Pb (II), respectively. The spectator ions affect the sorption efficiency of the resin. The resin was successfully applied to extract the metal ions in real wastewater. ทุนกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2008-02-29T01:50:33Z 2008-02-29T01:50:33Z 2549 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6105 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 597674 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ไอออนโลหะ การสกัด (เคมี) |
spellingShingle |
ไอออนโลหะ การสกัด (เคมี) อภิชาติ อิ่มยิ้ม การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย |
description |
ทำการดัดแปรพื้นผิวพอลิสไตรีนไดไวนิลเบนซีน (PS-DVB) ให้มีหมู่เบนโซไทเอโซล โดยเริ่มจากการดัดแปรพื้นผิวพอลิสไตรีนไดไวนิลเบนซีนให้มีหมู่อะมิโน (amino-PS-DVB)จากนั้นนำมาทำปฏิกิริยากับสารประกอบเอธิล 2-เบนไซไทเอโซลิลอะซิเตด (BA) ได้เรซินที่มีการเชื่อมต่อด้วยพันธะเอไมด์ จากนั้นตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่เตรียมได้ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ (EA) และเทคนิคอินฟราเรดสเปกโทรสโคปี (IR) นำเรซินที่เตรียมได้มาใช้สกัดไอออนแคดเมียม ทองแดง และตะกั่วในน้ำ ทำการวิเคราะห์ปริมาณโลหะต่างๆด้วยเทคนิคเฟลมอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรเมตรี (FAAS) โดยทำการศึกษาถึงสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการสกัดแบบแบทช์ ได้แก่ ค่า pH ของสารละลาย ระยะเวลาที่ใช้ในการการสกัด ความจุการดูดซับ และผลของไอออนอื่นๆ พบว่า pH ที่เหมาะสมสำหรับการสกัดแคดเมียม ทองแดง และตะกั่ว เท่ากับ 7.0 8.0 และ 6.0 ตามลำดับเวลาที่ทำให้สารสกัดเข้าสู่สมดุลเท่ากับ 20 นาทีสำหรับแคดเมียมและทองแดง และ 40 นาทีสำหรับตะกั่ว พฤติกรรมการดูดซับเป็นแบบแลงเมียร์ ไอออนโลหะสามารถชะออกจากเรซินได้ด้วยสารละลายกรดไนทริกเข้มข้น 1.0 M โดยมีเปอร์เซ็นต์การชะเท่ากับ 74.95 และ82% สำหรับแคดเมียม ทองแดง และตะกั่ว ตามลำดับ ไอออนอื่นในสารละลายส่งผลต่อประสิทธิภาพการสกัด สามารถนำเรซินไปใช้สกัดโลหะในน้ำเสียจริงได้ |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ อภิชาติ อิ่มยิ้ม |
format |
Technical Report |
author |
อภิชาติ อิ่มยิ้ม |
author_sort |
อภิชาติ อิ่มยิ้ม |
title |
การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย |
title_short |
การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย |
title_full |
การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย |
title_fullStr |
การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย |
title_full_unstemmed |
การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย |
title_sort |
การสกัดไอออนของโลหะที่เป็นพิษด้วยคีเลติงเรซินที่มีเบนโซไทเอโซล : รายงานผลการวิจัย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2008 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6105 |
_version_ |
1681411657900752896 |