การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย

เมื่อทำการเพาะเลี้ยงเชื้อ Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารเหลวกำหนดสูตรที่มี 2% (v/v) ของไขมันหรือกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอนที่แตกต่างกัน 9 ชนิด และ NH[subscript 4]NO[subscript 3] 0.4% ที่ 30ํC เขย่าที่ 200 rpm เป็นเวลา 7 วัน พบว่าเชื่อจะผลิตสารลดแรงดึงผิวชีวภาพได้ดีเมื่อเจริญเข้าสู่ระยะพัก (stat...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จิราภรณ์ ธนียวัน, ณัฐชนัญ ลีพิพัฒน์ไพบูลย์, นพรัตน์ วานิชสุขสมบัติ
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7170
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7170
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สารลดแรงตึงผิวชีวภาพ
ซูโดโมนาส
จุลินทรีย์ -- การเพาะเลี้ยงและอาหารเพาะเชื้อ
น้ำมันปาล์ม
spellingShingle สารลดแรงตึงผิวชีวภาพ
ซูโดโมนาส
จุลินทรีย์ -- การเพาะเลี้ยงและอาหารเพาะเชื้อ
น้ำมันปาล์ม
จิราภรณ์ ธนียวัน
ณัฐชนัญ ลีพิพัฒน์ไพบูลย์
นพรัตน์ วานิชสุขสมบัติ
การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย
description เมื่อทำการเพาะเลี้ยงเชื้อ Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารเหลวกำหนดสูตรที่มี 2% (v/v) ของไขมันหรือกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอนที่แตกต่างกัน 9 ชนิด และ NH[subscript 4]NO[subscript 3] 0.4% ที่ 30ํC เขย่าที่ 200 rpm เป็นเวลา 7 วัน พบว่าเชื่อจะผลิตสารลดแรงดึงผิวชีวภาพได้ดีเมื่อเจริญเข้าสู่ระยะพัก (stationary phase) สารลดแรงดึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้ สามารถลดค่าแรงดึงผิวของอาหารเลี้ยงเชื้อที่ปราศจากเซลล์จาก 55-63.4 mN/m ลงเป็น 27.8-30 mN/m ในอาหารเลี้ยงเชื้อทุกแหล่งคาร์บอน ปริมาณสารลดแรงดึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้จะขึ้นกับชนิดของแหล่งคาร์บอนจากการทดลองพบว่าอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีน้ำมันมะกอก น้ำมันปาล์ม และน้ำมันมะพร้าวเป็นแหล่งคาร์บอน จะทำให้สารลดแรงดึงผิวชีวภาพ 16.9 13.4 และ 6.23 กรัม/ลิตร ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าการกระจายตัวของน้ำมันและปริมาณน้ำตาลแรมโนสจะมีค่าสูงในแหล่งอาหารคาร์บอนที่เป็นกรดไขมัน สายโซ่ที่สั้นกว่า (C [subscript 12] C[subscript 14] C[subscript 16] ) และถ้าเป็นกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว พบว่า C18.2 จะให้ค่าการกระจายน้ำมันและปริมาณน้ำตาลแรมโนสสูงกว่ากรดไขมันC18.1 และกรดไขมันอิ่มตัว C18 ตามลำดับ ส่วนที่เป็นไฮโดรฟิลิกจะถูกนำมาวิเคราะห์หาสารน้ำตาลแรมโนสโดยการใช้ HPLC และ UV-VIS ขณะที่ส่วนที่เป็นไฮโดรโฟบิกถูกนำมาเตรียมเป็นรูปอนุพันธ์ของ Methy ester แล้ววิเคราะห์ด้วย GC-MS ผลการวิเคราะห์ด้วยแสดงการเปลี่ยนแปลงของกรดไขมันไปเป็นผลิตภัณฑ์หลัก ในรูป 3-hydroxyxlecanoic acid (3OH-C10:0) เกือบทั้งหมดเนื่องจากน้ำมันมะกอกเป็นแหล่งคาร์บอนที่มีราคาแพง ผู้วิจัยจึงได้สนใจที่จะผลิตสารลดแรงดึงผิวชีวภาพจากน้ำมันปาล์มแทน โดยได้ทำการผลิตสารลดแรงดึงผิวชีวภาพในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใช้น้ำมันปาล์มเป็นแหล่งคาร์บอน แล้วทำสารลดแรงดึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้ให้บริสุทธิ์บางส่วนโดยวิธีทางเคมี พบว่าสารลดแรงดึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้สามารถลดแรงดึงผิวได้ดีมีค่า [gamma]CMC 50 มก.ต่อลิตร เท่ากับ 30 mN/m มีค่าผลผลิต 196 กรัมต่อบาท สารสามารถเกิดอิมัลชั่นกับสารละลายอินทรีย์ต่างๆ 8 ชนิด มากกว่า 60 % และเมื่อทำสารให้บริสุทธิ์ยิ่งขึ้นด้วย HPLC แล้ววิเคราะห์สารด้วย LC-MS พบว่ามีองค์ประกอบหลักที่สำคัญคือสารที่มีมวลโมเลกุล 527 ซึ่งมีค่าเท่ากับมวลของโซเดี่ยมโมโนแรมโนลิปิด
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
จิราภรณ์ ธนียวัน
ณัฐชนัญ ลีพิพัฒน์ไพบูลย์
นพรัตน์ วานิชสุขสมบัติ
format Technical Report
author จิราภรณ์ ธนียวัน
ณัฐชนัญ ลีพิพัฒน์ไพบูลย์
นพรัตน์ วานิชสุขสมบัติ
author_sort จิราภรณ์ ธนียวัน
title การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย
title_short การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย
title_full การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย
title_sort การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย pseudomonas sp. สายพันธุ์ a41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7170
_version_ 1681413134442561536
spelling th-cuir.71702008-06-02T07:56:22Z การติดตามการเจริญและการผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารที่มีน้ำมันและกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอน : รายงานผลการวิจัย Growth and production of biosurfactant produced from Pseudomonas sp. using oils and fatty acids as carbon sources จิราภรณ์ ธนียวัน ณัฐชนัญ ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ นพรัตน์ วานิชสุขสมบัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ สารลดแรงตึงผิวชีวภาพ ซูโดโมนาส จุลินทรีย์ -- การเพาะเลี้ยงและอาหารเพาะเชื้อ น้ำมันปาล์ม เมื่อทำการเพาะเลี้ยงเชื้อ Pseudomonas sp. สายพันธุ์ A41 ในอาหารเหลวกำหนดสูตรที่มี 2% (v/v) ของไขมันหรือกรดไขมันเป็นแหล่งคาร์บอนที่แตกต่างกัน 9 ชนิด และ NH[subscript 4]NO[subscript 3] 0.4% ที่ 30ํC เขย่าที่ 200 rpm เป็นเวลา 7 วัน พบว่าเชื่อจะผลิตสารลดแรงดึงผิวชีวภาพได้ดีเมื่อเจริญเข้าสู่ระยะพัก (stationary phase) สารลดแรงดึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้ สามารถลดค่าแรงดึงผิวของอาหารเลี้ยงเชื้อที่ปราศจากเซลล์จาก 55-63.4 mN/m ลงเป็น 27.8-30 mN/m ในอาหารเลี้ยงเชื้อทุกแหล่งคาร์บอน ปริมาณสารลดแรงดึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้จะขึ้นกับชนิดของแหล่งคาร์บอนจากการทดลองพบว่าอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีน้ำมันมะกอก น้ำมันปาล์ม และน้ำมันมะพร้าวเป็นแหล่งคาร์บอน จะทำให้สารลดแรงดึงผิวชีวภาพ 16.9 13.4 และ 6.23 กรัม/ลิตร ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าการกระจายตัวของน้ำมันและปริมาณน้ำตาลแรมโนสจะมีค่าสูงในแหล่งอาหารคาร์บอนที่เป็นกรดไขมัน สายโซ่ที่สั้นกว่า (C [subscript 12] C[subscript 14] C[subscript 16] ) และถ้าเป็นกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว พบว่า C18.2 จะให้ค่าการกระจายน้ำมันและปริมาณน้ำตาลแรมโนสสูงกว่ากรดไขมันC18.1 และกรดไขมันอิ่มตัว C18 ตามลำดับ ส่วนที่เป็นไฮโดรฟิลิกจะถูกนำมาวิเคราะห์หาสารน้ำตาลแรมโนสโดยการใช้ HPLC และ UV-VIS ขณะที่ส่วนที่เป็นไฮโดรโฟบิกถูกนำมาเตรียมเป็นรูปอนุพันธ์ของ Methy ester แล้ววิเคราะห์ด้วย GC-MS ผลการวิเคราะห์ด้วยแสดงการเปลี่ยนแปลงของกรดไขมันไปเป็นผลิตภัณฑ์หลัก ในรูป 3-hydroxyxlecanoic acid (3OH-C10:0) เกือบทั้งหมดเนื่องจากน้ำมันมะกอกเป็นแหล่งคาร์บอนที่มีราคาแพง ผู้วิจัยจึงได้สนใจที่จะผลิตสารลดแรงดึงผิวชีวภาพจากน้ำมันปาล์มแทน โดยได้ทำการผลิตสารลดแรงดึงผิวชีวภาพในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใช้น้ำมันปาล์มเป็นแหล่งคาร์บอน แล้วทำสารลดแรงดึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้ให้บริสุทธิ์บางส่วนโดยวิธีทางเคมี พบว่าสารลดแรงดึงผิวชีวภาพที่ผลิตได้สามารถลดแรงดึงผิวได้ดีมีค่า [gamma]CMC 50 มก.ต่อลิตร เท่ากับ 30 mN/m มีค่าผลผลิต 196 กรัมต่อบาท สารสามารถเกิดอิมัลชั่นกับสารละลายอินทรีย์ต่างๆ 8 ชนิด มากกว่า 60 % และเมื่อทำสารให้บริสุทธิ์ยิ่งขึ้นด้วย HPLC แล้ววิเคราะห์สารด้วย LC-MS พบว่ามีองค์ประกอบหลักที่สำคัญคือสารที่มีมวลโมเลกุล 527 ซึ่งมีค่าเท่ากับมวลของโซเดี่ยมโมโนแรมโนลิปิด Biosurfactant production by Pseudomonas sp. Strain A41 was examined under different carbon sources, in defined medium containing 2% of oil or fatty acid and 0.4% NH[subscript 4]NO[subscript 3] at 30ํC 200 rpm for 7 days. The yield of biosurfactant steadily increased even after bacterial cultures reached the stationary phase. Under such condition the surface lension of the medium was lowered from the 55-63.4 mN/m to 27.8-30 in every carbon sources. Biosurfactant yield was affected by the nature of carbon source of the culture, by which rhamnolipid biosurfactants produced were found to be 16.9. 13.4 and 6.23 g/l in olive oil, palm oil and coconut oil, respectively. Increased biosurfactant activities in terms of oil displacement test and rhamnose were observed in the culture of shorter chain fatty acid than that of long chain C [subscript 12] C[subscript 14] C[subscript 16] Further more we found that unsaturated fatty acid possessed oil displacement activity and rhamnose content higher than and C [subscript 18:1] and C[subscript 18], respectively. After the hydrophilic moiety was identified as rhamnose by HPLC and its UV-visible spectrum, the hydrophobic part was mathylated and characterized by Gas chromatographic procedures. The GC-MS analysis showed that main component of 3-hydroxydecanoyl ester was found in every carbon sources. Since, olive oil is rather expensive, we purpose to use palm oil in place of this for economical reason. Then partially purified biosurfactant was prepared when cultivated in palm oil medium, The biosurfactant was isolated by TLC and silica get column subsequently to gradient HPLC and mass spectrometry. The biosurfactant showed excellent surface active properties in terms of [gamma]CMC 30 mg/l and high productivity cost 196 g/bath. Emusilication activities >60% with 8 types hydrocarbon tested. The main peak of mass spectrometry showed its mass of 527 correspond to sodiummonorthamnolipid. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2008-06-02T07:56:21Z 2008-06-02T07:56:21Z 2547 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7170 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6380557 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย