ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 2 ประการคือ 1. ศึกษาผลกระทบของข้อตกลงจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างไทย กับกลุ่มประชาคมยุโรป ที่มีต่อสภาวะเศรษฐกิจส่วนรวม 2. ศึกษาผลกระทบของข้อตกลงดังกล่าวที่มีต่อการตัดสินใจในระดับฟาร์ม จากการวิเคราะห์โดยทางทฤษฎี ผลกระทบที่จะมีต่อประเทศผู้ส่งออกนั้น จะขึ้นอยู...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/728 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.728 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
สินค้าเข้าและสินค้าออก ภาษีศุลกากร การควบคุมสินค้าขาออก ข้อตกลงจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ไทย--การค้ากับต่างประเทศ--ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป |
spellingShingle |
สินค้าเข้าและสินค้าออก ภาษีศุลกากร การควบคุมสินค้าขาออก ข้อตกลงจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ไทย--การค้ากับต่างประเทศ--ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์ ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา |
description |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 2 ประการคือ 1. ศึกษาผลกระทบของข้อตกลงจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างไทย กับกลุ่มประชาคมยุโรป ที่มีต่อสภาวะเศรษฐกิจส่วนรวม 2. ศึกษาผลกระทบของข้อตกลงดังกล่าวที่มีต่อการตัดสินใจในระดับฟาร์ม จากการวิเคราะห์โดยทางทฤษฎี ผลกระทบที่จะมีต่อประเทศผู้ส่งออกนั้น จะขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นราคาของอุปสงค์ ของสินค้าที่มีการจำกัดการส่งออก กล่าวคือถ้าอุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้อยประเทศผู้ส่งออกจะได้รับผลประโยชน์ เนื่องจากเปอร์เซนต์การเพิ่มขึ้นของราคาจะมากกว่าเปอร์เซนต์การลดลงของปริมาณส่งออก ในทางตรงกันข้ามถ้าอุปสงค์มีความยืดหยุ่นมากประเทศผู้นำเข้าจะได้รับประโยชน์ อย่างไรก็ตามผลประโยชน์ที่ได้นั้นจะตกอยู่ในประเทศผู้ส่งออก หรือไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างตลาดและการบริหารการส่งออกของรัฐบาล ในประเทศผู้ส่งออกเป็นหลัก จากการวิเคราะห์กรณีของประเทศไทย ความยืดหยุ่นราคาของอุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้อย ประเทศไทยจึงได้รับผลประโยชน์จากข้อตกลงดังกล่าวนี้อย่างแน่นอน อย่างไรก็ตามจากโครงสร้างตลาดและการบริหารการส่งออกในปัจจุบัน ผลประโยชน์ดังกล่าวจะตกไปอยู่กับพ่อค้า และผู้แปรรูปเป็นหลัก ส่วนเกษตรกร โดยเฉพาะขนาดเล็กกลับจะต้องได้รับผลร้ายโดยเฉพาะจากความผันผวนของราคาที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จากการวิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อการตัดสินใจในระดับฟาร์มพบว่า เมื่ออุปสงค์ในกลุ่มประชาคมยุโรปปรับตัวอย่างสมบูรณ์ และมีการใช้ผลิตผลอื่นทดแทน จนทำให้ราคาตกต่ำลงมากนั้น เกษตรกรควรจะหันไปปลูกพืชอื่นๆ โดยเฉพาะมะม่วงหิมพานต์ ถ้าต้องการรักษาระดับรายได้ไม่ให้เปลี่ยนแปลง ผลของการศึกษายืนยันว่า การเก็บภาษีส่งออกเป็นสิ่งที่ควรกระทำอย่างยิ่ง นอกจากนั้น รัฐบาลควรบริหารกองทุนเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาให้มีประสิทธิภาพและควรพยายามที่จะเน้นช่วยเหลือเกษตรกรรายเล็ก มากกว่าเกษตรกรรายใหญ่ |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์ |
format |
Technical Report |
author |
ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์ |
author_sort |
ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์ |
title |
ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา |
title_short |
ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา |
title_full |
ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา |
title_fullStr |
ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา |
title_full_unstemmed |
ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา |
title_sort |
ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/728 |
_version_ |
1681409053684662272 |
spelling |
th-cuir.7282008-02-18T12:04:16Z ข้อตกลงการจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประชาคมยุโรป : ลักษณะ ผลกระทบและผลที่ติดตามมา The agreement on voluntary export restraint between Thailand and EEC : characteristic, impact and consequence ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ สินค้าเข้าและสินค้าออก ภาษีศุลกากร การควบคุมสินค้าขาออก ข้อตกลงจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ไทย--การค้ากับต่างประเทศ--ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 2 ประการคือ 1. ศึกษาผลกระทบของข้อตกลงจำกัดการส่งออกด้วยความสมัครใจ ระหว่างไทย กับกลุ่มประชาคมยุโรป ที่มีต่อสภาวะเศรษฐกิจส่วนรวม 2. ศึกษาผลกระทบของข้อตกลงดังกล่าวที่มีต่อการตัดสินใจในระดับฟาร์ม จากการวิเคราะห์โดยทางทฤษฎี ผลกระทบที่จะมีต่อประเทศผู้ส่งออกนั้น จะขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นราคาของอุปสงค์ ของสินค้าที่มีการจำกัดการส่งออก กล่าวคือถ้าอุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้อยประเทศผู้ส่งออกจะได้รับผลประโยชน์ เนื่องจากเปอร์เซนต์การเพิ่มขึ้นของราคาจะมากกว่าเปอร์เซนต์การลดลงของปริมาณส่งออก ในทางตรงกันข้ามถ้าอุปสงค์มีความยืดหยุ่นมากประเทศผู้นำเข้าจะได้รับประโยชน์ อย่างไรก็ตามผลประโยชน์ที่ได้นั้นจะตกอยู่ในประเทศผู้ส่งออก หรือไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างตลาดและการบริหารการส่งออกของรัฐบาล ในประเทศผู้ส่งออกเป็นหลัก จากการวิเคราะห์กรณีของประเทศไทย ความยืดหยุ่นราคาของอุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้อย ประเทศไทยจึงได้รับผลประโยชน์จากข้อตกลงดังกล่าวนี้อย่างแน่นอน อย่างไรก็ตามจากโครงสร้างตลาดและการบริหารการส่งออกในปัจจุบัน ผลประโยชน์ดังกล่าวจะตกไปอยู่กับพ่อค้า และผู้แปรรูปเป็นหลัก ส่วนเกษตรกร โดยเฉพาะขนาดเล็กกลับจะต้องได้รับผลร้ายโดยเฉพาะจากความผันผวนของราคาที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จากการวิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อการตัดสินใจในระดับฟาร์มพบว่า เมื่ออุปสงค์ในกลุ่มประชาคมยุโรปปรับตัวอย่างสมบูรณ์ และมีการใช้ผลิตผลอื่นทดแทน จนทำให้ราคาตกต่ำลงมากนั้น เกษตรกรควรจะหันไปปลูกพืชอื่นๆ โดยเฉพาะมะม่วงหิมพานต์ ถ้าต้องการรักษาระดับรายได้ไม่ให้เปลี่ยนแปลง ผลของการศึกษายืนยันว่า การเก็บภาษีส่งออกเป็นสิ่งที่ควรกระทำอย่างยิ่ง นอกจากนั้น รัฐบาลควรบริหารกองทุนเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาให้มีประสิทธิภาพและควรพยายามที่จะเน้นช่วยเหลือเกษตรกรรายเล็ก มากกว่าเกษตรกรรายใหญ่ This study has main objectives: 1. To study the impact of the agreement on the voluntary export restraints between Thailand and the EEC on the genexal economic condition of the concerning parties. 2. To study the impact of the above agreement on the decision making at the farm level. From the theoretical analysis, the extent of the impact of the agreement would depend on the elasticity of demand for the products under the restriction. That is to say, if the demand is inelastic the exporter would gain from the restriction because the parcentage increase in price would be higher than the percentage decrease in the quantity demanded. On the other hand, if the demand is elastic the importer would gain from the restrictions. Whether the gain be with the exporting country or not would be depending principally upon the nature of the structure of the market and the export administration of the government in the exporting country. From the case of Thailand, the price elasticity of demand is inelastic, therefore, Thailand is supposed to gain from the agreement. However, the nature of the market structure and the administration of export indicated that the benefit would mainly be with the middlemen and the processors. The farmers, especially small ones would have to suffer from large variation in price. The analysis of the impact on decision making at the farm level revealed that when the demand in the EC has perfectly adjusted and the substitution of other product has taken place, the price of the product will be low enough for the farmer to switch to other crop especially cashew nut in order to maintain the same level of income. The result of the study instated that the imposition of the export tax is appropriate. Moreover, it suggested that the government should efficiently administer the export stabilization fund and try to emphasize on the fund allocation to the small farms instead of the large ones. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2006-07-12T09:38:06Z 2006-07-12T09:38:06Z 2527 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/728 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 40690879 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |