แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย

บริษัทส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรมการเกษตร (ธุรกิจการเกษตร) ของไทยนั้นไม่ค่อยจะได้คิดหรือวางแผนการในการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้โดยเน้นความสำคัญอย่างพอเพียงต่อหน้าที่ของการประเมินผลข้อมูล ซึ่งก็คือ การสนับสนุนการปฏิบัติงาน การจัดการ และการตัดสินใจของบริษัท มีผู้บริหารน้อยรายในสาขาเศรษฐกิจดังกล่าวนี้ที่...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศรีวงศ์ สุมิตร, ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/730
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.730
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ--เกษตรกรรม
อุตสาหกรรมการเกษตร--ไทย
spellingShingle ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ--เกษตรกรรม
อุตสาหกรรมการเกษตร--ไทย
ศรีวงศ์ สุมิตร
ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์
แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย
description บริษัทส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรมการเกษตร (ธุรกิจการเกษตร) ของไทยนั้นไม่ค่อยจะได้คิดหรือวางแผนการในการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้โดยเน้นความสำคัญอย่างพอเพียงต่อหน้าที่ของการประเมินผลข้อมูล ซึ่งก็คือ การสนับสนุนการปฏิบัติงาน การจัดการ และการตัดสินใจของบริษัท มีผู้บริหารน้อยรายในสาขาเศรษฐกิจดังกล่าวนี้ที่มีความคิดอย่างชัดเจนถึงแนวทางในการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ที่ก้าวหน้าและทันต่อการพัฒนาของเทคโนโลยี ในการวิจัยนี้ได้แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย โดยเน้นถึงฟังก์ชั่นการประเมินผลข้อมูล ตั้งแต่การประยุกต์ใช้ขั้นง่ายสุดคือการทำบัญชี ไปจนถึงเทคโนโลยีฐานข้อมูลสำหรับการบริหารทั่วไป และระบบสารสนเทศส่วนบุคคลสำหรับผู้บริหารแต่ละคนของบริษัท ข้อมูลที่นำเสนอและข้อสังเกตที่ได้ในการวิจัยนี้ ได้มาจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ระดับสูงรวม 82 บริษัทในอุตสาหกรรมการเกษตร ในเขตกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการระหว่างเดือนมีนาคมถึงกันยายน 2533 ในการสัมภาษณ์นั้นผู้วิจัยได้อธิบายโดยละเอียดถึงลักษณะของช่วงชีวิตของฟังก์ชั่นการประเมินผลข้อมูลซึ่งมีการนำมาวิเคราะห์การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลาย ตลอดจนมโนทัศน์ของการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการซึ่งมีความหมายรวมไปถึง การจัดทำโมเดลบริษัท ฐานข้อมูล การศึกษาความเป็นไปได้ และสภาวะแวดล้อมภายนอก หลังจากทำความเข้าใจอย่างถูกต้องแล้ว ผู้วิจัยได้ขอให้เจ้าหน้าที่ของบริษัทตอบคำถามในแบบสอบถาม ผลที่ได้นั้นสรุปได้ดังนี้ จำนวนบริษัทที่นำเอาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้แบบใหม่ๆ สำหรับการบริหารทั่วไป และระบบสารสนเทศส่วนบุคคลสำหรับผู้บริหารแต่ละคนนั้นมีน้อยกว่าที่คาดไว้มากเมื่อพิจารณาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยที่อยู่ในระดับสูง มีเพียงร้อยละ 17 ในการสำรวจนี้เท่านั้นที่อยู่ในขั้นดังกล่าว ได้มีความต้องการใช้บุคลากรระดับกลางเป็นจำนวนมากกล่าวคือ จำนวนเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่อง ผู้เขียนโปรแกรม และนักวิเคราะห์มีถึงร้อยละ 71 ของบริษัทที่ทำการสำรวจความต้องการบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญสูงในด้านเทคโนโลยี ฐานข้อมูล และการสื่อสารนั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังอยู่ในระดับต่ำอยู่มาก จำนวน 2 ใน 3 ของบริษัทที่ทำการสำรวจอยู่ในขั้นแรกเริ่ม ของการประยุกต์ใช้เทคนิคการบริหารคอมพิวเตอร์ กล่าวคือการประเมินผลข้อมูลมักดำเนินการโดย ฝ่ายเล็กๆ ในบริษัท และการควบคุมยังเป็นไปอย่างหละหลวม จำนวนบริษัทที่จัดหาบริการคอมพิวเตอร์แก่ผู้ใช้ โดยไม่มีการเก็บค่าบริการมีถึงร้อยละ 86 ของบริษัทที่ทำการสำรวจ ในการสำรวจนี้แสดงว่า ร้อยละ 17 ของบริษัทที่ทำการศึกษาได้มีการริเริ่มจัดทำโมเดลบริษัทโดยเป็นไปตามความต้องการของผู้บริหารระดับสูง บริษัทดังกล่าวนี้ ได้จัดหาซอฟต์แวร์ สำหรับการจัดโครงสร้างข้อมูล และสามารถตอบสนองความต้องการของฝ่ายบริหารในการทำงานเฉพาะกิจและการจัดทำรายงาน ประมาณร้อยละ 62 ของบริษัทที่ทำการสำรวจระบุว่า วิธีการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบคอมพิวเตอร์ที่เสนอเข้ามาให้เลือกนั้นยังไม่เหมาะสมเพราะไม่สามารถประเมินข้อดีเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้ และต้นทุนก็ไม่สามารถระบุได้แน่นอนเช่นกัน ในการศึกษานี้พบว่า รัฐบาลมิได้มีบทบาทเป็นผู้นำในการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ของบริษัทแต่อย่างใด อย่างไรก็ตามได้มีการใช้อาจารย์มหาวิทยาลัยเป็นที่ปรึกษากันอย่างแพร่หลาย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการนั้นขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ของรัฐในการนำเข้าเทคโนโลยีสารสนเทศ และรัฐบาลควรจะเร่งให้การฝึกอบรมและการศึกษาอย่างพอเพียง
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
ศรีวงศ์ สุมิตร
ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์
format Technical Report
author ศรีวงศ์ สุมิตร
ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์
author_sort ศรีวงศ์ สุมิตร
title แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย
title_short แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย
title_full แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย
title_sort แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/730
_version_ 1681408775775322112
spelling th-cuir.7302008-02-15T13:30:04Z แนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในประเทศไทย : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมการเกษตร : รายงานผลการวิจัย A framework for the development of management information system in Thailand : a case of agroindustry ศรีวงศ์ สุมิตร ชัยวุฒิ ชัยพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ--เกษตรกรรม อุตสาหกรรมการเกษตร--ไทย บริษัทส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรมการเกษตร (ธุรกิจการเกษตร) ของไทยนั้นไม่ค่อยจะได้คิดหรือวางแผนการในการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้โดยเน้นความสำคัญอย่างพอเพียงต่อหน้าที่ของการประเมินผลข้อมูล ซึ่งก็คือ การสนับสนุนการปฏิบัติงาน การจัดการ และการตัดสินใจของบริษัท มีผู้บริหารน้อยรายในสาขาเศรษฐกิจดังกล่าวนี้ที่มีความคิดอย่างชัดเจนถึงแนวทางในการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ที่ก้าวหน้าและทันต่อการพัฒนาของเทคโนโลยี ในการวิจัยนี้ได้แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย โดยเน้นถึงฟังก์ชั่นการประเมินผลข้อมูล ตั้งแต่การประยุกต์ใช้ขั้นง่ายสุดคือการทำบัญชี ไปจนถึงเทคโนโลยีฐานข้อมูลสำหรับการบริหารทั่วไป และระบบสารสนเทศส่วนบุคคลสำหรับผู้บริหารแต่ละคนของบริษัท ข้อมูลที่นำเสนอและข้อสังเกตที่ได้ในการวิจัยนี้ ได้มาจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ระดับสูงรวม 82 บริษัทในอุตสาหกรรมการเกษตร ในเขตกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการระหว่างเดือนมีนาคมถึงกันยายน 2533 ในการสัมภาษณ์นั้นผู้วิจัยได้อธิบายโดยละเอียดถึงลักษณะของช่วงชีวิตของฟังก์ชั่นการประเมินผลข้อมูลซึ่งมีการนำมาวิเคราะห์การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลาย ตลอดจนมโนทัศน์ของการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการซึ่งมีความหมายรวมไปถึง การจัดทำโมเดลบริษัท ฐานข้อมูล การศึกษาความเป็นไปได้ และสภาวะแวดล้อมภายนอก หลังจากทำความเข้าใจอย่างถูกต้องแล้ว ผู้วิจัยได้ขอให้เจ้าหน้าที่ของบริษัทตอบคำถามในแบบสอบถาม ผลที่ได้นั้นสรุปได้ดังนี้ จำนวนบริษัทที่นำเอาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้แบบใหม่ๆ สำหรับการบริหารทั่วไป และระบบสารสนเทศส่วนบุคคลสำหรับผู้บริหารแต่ละคนนั้นมีน้อยกว่าที่คาดไว้มากเมื่อพิจารณาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยที่อยู่ในระดับสูง มีเพียงร้อยละ 17 ในการสำรวจนี้เท่านั้นที่อยู่ในขั้นดังกล่าว ได้มีความต้องการใช้บุคลากรระดับกลางเป็นจำนวนมากกล่าวคือ จำนวนเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่อง ผู้เขียนโปรแกรม และนักวิเคราะห์มีถึงร้อยละ 71 ของบริษัทที่ทำการสำรวจความต้องการบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญสูงในด้านเทคโนโลยี ฐานข้อมูล และการสื่อสารนั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังอยู่ในระดับต่ำอยู่มาก จำนวน 2 ใน 3 ของบริษัทที่ทำการสำรวจอยู่ในขั้นแรกเริ่ม ของการประยุกต์ใช้เทคนิคการบริหารคอมพิวเตอร์ กล่าวคือการประเมินผลข้อมูลมักดำเนินการโดย ฝ่ายเล็กๆ ในบริษัท และการควบคุมยังเป็นไปอย่างหละหลวม จำนวนบริษัทที่จัดหาบริการคอมพิวเตอร์แก่ผู้ใช้ โดยไม่มีการเก็บค่าบริการมีถึงร้อยละ 86 ของบริษัทที่ทำการสำรวจ ในการสำรวจนี้แสดงว่า ร้อยละ 17 ของบริษัทที่ทำการศึกษาได้มีการริเริ่มจัดทำโมเดลบริษัทโดยเป็นไปตามความต้องการของผู้บริหารระดับสูง บริษัทดังกล่าวนี้ ได้จัดหาซอฟต์แวร์ สำหรับการจัดโครงสร้างข้อมูล และสามารถตอบสนองความต้องการของฝ่ายบริหารในการทำงานเฉพาะกิจและการจัดทำรายงาน ประมาณร้อยละ 62 ของบริษัทที่ทำการสำรวจระบุว่า วิธีการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบคอมพิวเตอร์ที่เสนอเข้ามาให้เลือกนั้นยังไม่เหมาะสมเพราะไม่สามารถประเมินข้อดีเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้ และต้นทุนก็ไม่สามารถระบุได้แน่นอนเช่นกัน ในการศึกษานี้พบว่า รัฐบาลมิได้มีบทบาทเป็นผู้นำในการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ของบริษัทแต่อย่างใด อย่างไรก็ตามได้มีการใช้อาจารย์มหาวิทยาลัยเป็นที่ปรึกษากันอย่างแพร่หลาย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการนั้นขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ของรัฐในการนำเข้าเทคโนโลยีสารสนเทศ และรัฐบาลควรจะเร่งให้การฝึกอบรมและการศึกษาอย่างพอเพียง Most companies in Thailand's agroindustry (agribusiness) have not conceived and planned their computerization schemes with any significant amount of attention to their intended function supporting operations, management, and decision making in a company. Few executives in this economic sector have a clear picture of the ways in which computerization can be advanced. The authors here outline the development of management information system (MIS) in Thailand's agroindustry with special reference to the EDP function, from simplest automation of clerical systems within the financial area to all-embracing database applications for general management and personalized information systems for individual managers throughout the company. The data presented and the observations made here are based on the interviews with the highest-ranking officials in 82 companies engaging in agribusiness in Bangkok and Samutprakarn provinces during March-September 1990. During the interviews the researchers discussed the characteristics of the life of the EDP function, traditionally used with computerized application, and the concept of the MIS development including corporate modeling, database, feasibility study and external environment. After this discussion, the company official was asked to fill up the questionnaire. The responses to these questions are : The number of companies using new applications for general management and personalized information systems for individual managers is smaller than one might expect after learning the highest growth rates of the Thai economy. About 17 per cent in this survey are in this stage. There are substantial requirements of moderate personnel specialization. The number of operator, programmer, and analyst accounted for 71 per cent in this survey. The needs for personnel who possess high skills in database technology and teleprocessing are increasing, but still at the low level. Two-thirds in this survey are in the first stage of management techniques applications. EDP is organized under a small department. Controls are notably lacking. The companies which provide computer services to users on a no-charge basis accounted for 86 per cent in this survey. This survey indicates that 17 per cent of companies studies initiated corporate modeling efforts using the top-down approach. These companies also acquire commercial software for structuring data and responding to management requests for ad hoc analysis and reports. About 62 per cent in this survey indicate that feasibility study is inappropriate to justify a proposed computer system. The benefits are often qualitative and the costs are not easy to identify. It was found that the government is seldom in a leadership role in the computerization process of a company. However, university's professors are frequently used as consultants. The development of MIS is quite often heavily dependent on the government regulations of the imported information technologies. More active role is also required in the area of training and education. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2006-07-12T09:51:27Z 2006-07-12T09:51:27Z 2534 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/730 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 19048070 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย