การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย

อันตรายต่อโพรงฟัน จะเหนี่ยวนำให้มีการหลั่งสารที่เกี่ยวกับการอักเสบ และเกิดการละลายตัวของเนื้อฟันจากภายในโพรงฟัน (internal resorption) คณะผู้วิจัยได้ตั้งสมมติฐานว่าอินเตอร์ลิวคิน-6 (IL-6) ที่เพิ่มขึ้นในภาวะที่มีการอักเสบของโพรงฟัน มีผลต่อเซลล์โพรงฟัน โดยรบกวนสมดุลของ รีเซบเตอร์ แอคติเวเตอร์ ออฟ นิวเค...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ทิพวรรณ ธราภิวัฒนานนท์, ประสิทธิ์ ภวสันต์, ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7952
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7952
record_format dspace
spelling th-cuir.79522008-09-02T08:39:40Z การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย The responses of pulp cells to interleukin-6 ทิพวรรณ ธราภิวัฒนานนท์ ประสิทธิ์ ภวสันต์ ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ ฟัน เนื้อเยื่อฟัน อินเตอร์ลิวคิน-6 อันตรายต่อโพรงฟัน จะเหนี่ยวนำให้มีการหลั่งสารที่เกี่ยวกับการอักเสบ และเกิดการละลายตัวของเนื้อฟันจากภายในโพรงฟัน (internal resorption) คณะผู้วิจัยได้ตั้งสมมติฐานว่าอินเตอร์ลิวคิน-6 (IL-6) ที่เพิ่มขึ้นในภาวะที่มีการอักเสบของโพรงฟัน มีผลต่อเซลล์โพรงฟัน โดยรบกวนสมดุลของ รีเซบเตอร์ แอคติเวเตอร์ ออฟ นิวเคลีย แฟคเตอร์ แคปปาบี ไลแกนส์ (RANKL) และออสติโอโปรติเจริน (OPG) ซึ่งมีผลกระตุ้นการเกิดเซลล์สลายกระดูก และย่อยสลายเนื้อฟัน การศึกษาด้วยอาร์ที พีซีอาร์ และเวสเทอร์นอนาไลซิส พบว่าอินเตอร์ลิวคิน-6 (1 และ 10 นาโนกรัม/มิลลิลิตร) กระตุ้นการสร้าง RANKL ทั้งในระดับอาร์เอ็นเอและโปรตีน แต่ไม่มีผลต่อ OPG และมาโครฟาจสติมูเลติงแฟคเตอร์ (M-CSF) การกระตุ้น RANKL เกิดผ่านสัญญาณของ ฟอสโฟอินอซิไทด์ ไตรไคเนส (PI3K) นอกจากนี้ ยังพบว่า IL-6 เพียงลำพังก็สามารถกระตุ้น RANKL ได้โดยไม่จำเป็นต้องมีการเพิ่มของรีเซบเตอร์ (sIL-6R หรือ gp80) จากภายนอกเซลล์ การที่เซลล์โพรงฟันตอบสนองต่อ IL-6 โดยการเพิ่ม RANKL น่าจะเป็นสาเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดการสลายเนื้อฟันจากภายในโพรงฟัน หลังจากฟันได้รับอันตราย Injuries to dental pulp induce the secretion of inflammatory cytokines, resulting the internal resorption of the pulps and root canals. We hypothesize that the increased interleukin-6 (IL-6) following injuries affects pulp cells by interfering the balance of the receptor of nuclear factor B ligands (RANKL) and osteoprotegerin (OPG) system, which leads to osteoclastogenesis and resorption of dentin. Reverse transcription-polymerization chain reaction (RT-PCR- and Western analysis demonstrate that IL-6 (1 and 10 ng/ml) stimulates the expression of RANKL at both mRNA and protein levels. IL-6 does not exert effect on the expression of OPG and macrophage stimulating factor (M-CSF). The stimulation of RANKL occurs via the pathway of phosphoinositide 3 kinase (PI3K). In addition, IL-6 alone can stimulate the expression of IL-6 without additional effect of exogenous of soluble IL-6 receptor (sIL-6R or gp80). The response of pulp cells to IL-6 by increasing RANKL could be an important factor for internal resorption following injuries. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2008-09-02T08:39:39Z 2008-09-02T08:39:39Z 2550 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7952 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 729712 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ฟัน
เนื้อเยื่อฟัน
อินเตอร์ลิวคิน-6
spellingShingle ฟัน
เนื้อเยื่อฟัน
อินเตอร์ลิวคิน-6
ทิพวรรณ ธราภิวัฒนานนท์
ประสิทธิ์ ภวสันต์
ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล
การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย
description อันตรายต่อโพรงฟัน จะเหนี่ยวนำให้มีการหลั่งสารที่เกี่ยวกับการอักเสบ และเกิดการละลายตัวของเนื้อฟันจากภายในโพรงฟัน (internal resorption) คณะผู้วิจัยได้ตั้งสมมติฐานว่าอินเตอร์ลิวคิน-6 (IL-6) ที่เพิ่มขึ้นในภาวะที่มีการอักเสบของโพรงฟัน มีผลต่อเซลล์โพรงฟัน โดยรบกวนสมดุลของ รีเซบเตอร์ แอคติเวเตอร์ ออฟ นิวเคลีย แฟคเตอร์ แคปปาบี ไลแกนส์ (RANKL) และออสติโอโปรติเจริน (OPG) ซึ่งมีผลกระตุ้นการเกิดเซลล์สลายกระดูก และย่อยสลายเนื้อฟัน การศึกษาด้วยอาร์ที พีซีอาร์ และเวสเทอร์นอนาไลซิส พบว่าอินเตอร์ลิวคิน-6 (1 และ 10 นาโนกรัม/มิลลิลิตร) กระตุ้นการสร้าง RANKL ทั้งในระดับอาร์เอ็นเอและโปรตีน แต่ไม่มีผลต่อ OPG และมาโครฟาจสติมูเลติงแฟคเตอร์ (M-CSF) การกระตุ้น RANKL เกิดผ่านสัญญาณของ ฟอสโฟอินอซิไทด์ ไตรไคเนส (PI3K) นอกจากนี้ ยังพบว่า IL-6 เพียงลำพังก็สามารถกระตุ้น RANKL ได้โดยไม่จำเป็นต้องมีการเพิ่มของรีเซบเตอร์ (sIL-6R หรือ gp80) จากภายนอกเซลล์ การที่เซลล์โพรงฟันตอบสนองต่อ IL-6 โดยการเพิ่ม RANKL น่าจะเป็นสาเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดการสลายเนื้อฟันจากภายในโพรงฟัน หลังจากฟันได้รับอันตราย
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
ทิพวรรณ ธราภิวัฒนานนท์
ประสิทธิ์ ภวสันต์
ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล
format Technical Report
author ทิพวรรณ ธราภิวัฒนานนท์
ประสิทธิ์ ภวสันต์
ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล
author_sort ทิพวรรณ ธราภิวัฒนานนท์
title การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย
title_short การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย
title_full การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย
title_fullStr การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย
title_full_unstemmed การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย
title_sort การตอบสนองของเซลล์โพรงฟันต่ออินเตอร์ลิวคิน-6 : รายงานวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7952
_version_ 1681411936866009088