การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย

วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อตรวจหาจำนวนอสุจิใน crypts ของ uterotubal junction (UTJ) และท่อนำไข่ในแม่สุกร ที่ประมาณ 24 ชั่วโมง หลังทำการผสมเทียมด้วยวิธี intrauterine (IUI) และ deep intrauterine (DIUI) และทำการเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอสุจิเมื่อใช้วิธีการผสมเทียมแบบปกติ การทดลองใช้แม่สุกรพันธุ์ผส...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เผด็จ ธรรมรักษ์, ไพศาล เทียนไทย
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8942
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.8942
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อสุจิ
สุกร -- การผสมเทียม
spellingShingle อสุจิ
สุกร -- การผสมเทียม
เผด็จ ธรรมรักษ์
ไพศาล เทียนไทย
การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย
description วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อตรวจหาจำนวนอสุจิใน crypts ของ uterotubal junction (UTJ) และท่อนำไข่ในแม่สุกร ที่ประมาณ 24 ชั่วโมง หลังทำการผสมเทียมด้วยวิธี intrauterine (IUI) และ deep intrauterine (DIUI) และทำการเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอสุจิเมื่อใช้วิธีการผสมเทียมแบบปกติ การทดลองใช้แม่สุกรพันธุ์ผสม Landrace x Yorkshire (LY) จำนวน 15 ตัว หาเวลาที่เกิดการตกไข่ที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเป็นสัดโดยทำการอัลตราซาวนด์ผ่านทางทวารหนักทุก 4 ชั่วโมง ผสมเทียมแม่สุกรด้วยน้ำเชื้อสดเจือจางเพียงครั้งเดียวที่เวลาประมาณ 6-8 ชั่วโมงก่อนเวลาที่คาดว่าจะมีการตกไข่ด้วยวิธี AI (n=5) IUI (n=5) และ DIUI (n=5) โดยทำการผสมเมื่อสุกรเป็นสัดครั้งที่สองหลังจากหย่านม วิธี AI ใช้อสุจิ 3,000 ล้านตัวในปริมาตร 100 มิลลิลิตร วิธีIUI ใช้อสุจิ 1,000 ล้านตัวในปริมาตร 50 มิลลิลิตร และวิธี DIUI ใช้อสุจิ 150 ล้านตัวในปริมาตร 5 มิลลิลิตร หลังจากผสมเทียมประมาณ 24 ชั่วโมง ทำการวางยาแม่สุกรเพื่อตัดรังไข่และมดลูกออก เก็บท่อนำไข่และปีกมดลูกส่วนต้น (1 เซนติเมตร) ทั้งสองข้าง แบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่ UTJ ส่วนท้ายของ isthmus ส่วนต้นของisthmus และ ampulla ชะล้างตัวอสุจิที่อยู่ในท่อของแต่ละส่วนด้วยสารละลาย phosphate buffer หลายๆ ครั้งหลังจากทำการชะล้างแล้ว นำส่วน UTJ และท่อนำไข่ทุกส่วนไปแช่ในสารละลาย 10% neutral buffered formalin จากนั้นนำ UTJ และส่วนต่างๆ ของท่อนำไข่ไปตัดแบ่งเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กันและนำไปใส่ใน paraffin block ทำการตัดขวางเนื้อเยื่อที่ความหนา 5 ไมครอน ชิ้นเนื้อเยื่อที่ตัดได้ทุกๆ 5 ชิ้นจะนำไปย้อมสีด้วยสีย้อม haematoxylin และ eosin นับจำนวนตัวอสุจิทั้งหมดจาก 32 ชิ้นในแต่ละส่วนของเนื้อเยื่อ (16 ชิ้นจากด้านซ้ายและอีก 16 ชิ้นจากด้านขวา) ด้วยกล้องจุลทรรศน์ ผลการศึกษาพบว่าตัวอสุจิส่วนใหญ่จะอยู่กันเป็นกลุ่มบริเวณepithelial crypt ค่าเฉลี่ยของจำนวนตัวอสุจิทั้งหมดในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิ (UTJ และส่วนท้ายของ isthmus) เป็น2296 729 และ 22 ตัวในกลุ่มที่ผสมเทียมด้วยวิธี AI IUI และ DIUI ตามลำดับ (P<0.01) แม่สุกรทุกตัวในกลุ่มที่ผสมเทียมด้วยวิธี AI และ IUI จะพบตัวอสุจิในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิได้ทั้งสองข้าง แต่แม่สุกรในกลุ่มที่ผสมเทียมด้วยวิธี DIUI จำนวน 3 ตัวจาก 5 ตัวไม่พบตัวอสุจิในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิทั้งสองข้าง แม่สุกร 1 ตัวพบตัวอสุจิในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิเพียงข้างเดียว และแม่สุกรอีก 1 ตัวพบตัวอสุจิได้ทั้งสองข้าง ไม่พบตัวอสุจิในส่วนต้นของisthmus ขณะที่พบตัวอสุจิเพียง 1 ตัวในส่วน ampulla ในแม่สุกร 1 ตัวจากกลุ่มที่ผสมเทียมด้วยวิธี IUI โดยสรุปการผสมเทียมด้วยวิธี DIUI จะพบจำนวนตัวอสุจิในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิที่ 24 ชั่วโมงหลังทำการผสมเทียมน้อยกว่าเมื่อเทียบกับวิธี AI และ IUI อย่างมีนัยสำคัญ ตัวอสุจิสามารถไปอยู่ในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิได้ทั้งสองข้างหลังทำการผสมเทียมด้วยวิธี AI และ IUI แต่ในแม่สุกรกลุ่มที่ทำการผสมเทียมด้วยวิธี DIUI พบได้เพียง 1 ตัวจาก 5 ตัว
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
เผด็จ ธรรมรักษ์
ไพศาล เทียนไทย
format Technical Report
author เผด็จ ธรรมรักษ์
ไพศาล เทียนไทย
author_sort เผด็จ ธรรมรักษ์
title การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย
title_short การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย
title_full การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย
title_fullStr การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย
title_full_unstemmed การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย
title_sort การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8942
_version_ 1681410855843921920
spelling th-cuir.89422009-06-19T01:57:11Z การศึกษาระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ของแหล่งกักเก็บอสุจิในสุกรภายหลังการผสมเทียมแบบสอดท่อเข้ามดลูกด้วยน้ำเชื้อสด : รายงานวิจัย A histological study on the sperm reservoir of the sow after an intrauterine artificial insemination with extended fresh semen เผด็จ ธรรมรักษ์ ไพศาล เทียนไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ อสุจิ สุกร -- การผสมเทียม วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อตรวจหาจำนวนอสุจิใน crypts ของ uterotubal junction (UTJ) และท่อนำไข่ในแม่สุกร ที่ประมาณ 24 ชั่วโมง หลังทำการผสมเทียมด้วยวิธี intrauterine (IUI) และ deep intrauterine (DIUI) และทำการเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอสุจิเมื่อใช้วิธีการผสมเทียมแบบปกติ การทดลองใช้แม่สุกรพันธุ์ผสม Landrace x Yorkshire (LY) จำนวน 15 ตัว หาเวลาที่เกิดการตกไข่ที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเป็นสัดโดยทำการอัลตราซาวนด์ผ่านทางทวารหนักทุก 4 ชั่วโมง ผสมเทียมแม่สุกรด้วยน้ำเชื้อสดเจือจางเพียงครั้งเดียวที่เวลาประมาณ 6-8 ชั่วโมงก่อนเวลาที่คาดว่าจะมีการตกไข่ด้วยวิธี AI (n=5) IUI (n=5) และ DIUI (n=5) โดยทำการผสมเมื่อสุกรเป็นสัดครั้งที่สองหลังจากหย่านม วิธี AI ใช้อสุจิ 3,000 ล้านตัวในปริมาตร 100 มิลลิลิตร วิธีIUI ใช้อสุจิ 1,000 ล้านตัวในปริมาตร 50 มิลลิลิตร และวิธี DIUI ใช้อสุจิ 150 ล้านตัวในปริมาตร 5 มิลลิลิตร หลังจากผสมเทียมประมาณ 24 ชั่วโมง ทำการวางยาแม่สุกรเพื่อตัดรังไข่และมดลูกออก เก็บท่อนำไข่และปีกมดลูกส่วนต้น (1 เซนติเมตร) ทั้งสองข้าง แบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่ UTJ ส่วนท้ายของ isthmus ส่วนต้นของisthmus และ ampulla ชะล้างตัวอสุจิที่อยู่ในท่อของแต่ละส่วนด้วยสารละลาย phosphate buffer หลายๆ ครั้งหลังจากทำการชะล้างแล้ว นำส่วน UTJ และท่อนำไข่ทุกส่วนไปแช่ในสารละลาย 10% neutral buffered formalin จากนั้นนำ UTJ และส่วนต่างๆ ของท่อนำไข่ไปตัดแบ่งเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กันและนำไปใส่ใน paraffin block ทำการตัดขวางเนื้อเยื่อที่ความหนา 5 ไมครอน ชิ้นเนื้อเยื่อที่ตัดได้ทุกๆ 5 ชิ้นจะนำไปย้อมสีด้วยสีย้อม haematoxylin และ eosin นับจำนวนตัวอสุจิทั้งหมดจาก 32 ชิ้นในแต่ละส่วนของเนื้อเยื่อ (16 ชิ้นจากด้านซ้ายและอีก 16 ชิ้นจากด้านขวา) ด้วยกล้องจุลทรรศน์ ผลการศึกษาพบว่าตัวอสุจิส่วนใหญ่จะอยู่กันเป็นกลุ่มบริเวณepithelial crypt ค่าเฉลี่ยของจำนวนตัวอสุจิทั้งหมดในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิ (UTJ และส่วนท้ายของ isthmus) เป็น2296 729 และ 22 ตัวในกลุ่มที่ผสมเทียมด้วยวิธี AI IUI และ DIUI ตามลำดับ (P<0.01) แม่สุกรทุกตัวในกลุ่มที่ผสมเทียมด้วยวิธี AI และ IUI จะพบตัวอสุจิในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิได้ทั้งสองข้าง แต่แม่สุกรในกลุ่มที่ผสมเทียมด้วยวิธี DIUI จำนวน 3 ตัวจาก 5 ตัวไม่พบตัวอสุจิในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิทั้งสองข้าง แม่สุกร 1 ตัวพบตัวอสุจิในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิเพียงข้างเดียว และแม่สุกรอีก 1 ตัวพบตัวอสุจิได้ทั้งสองข้าง ไม่พบตัวอสุจิในส่วนต้นของisthmus ขณะที่พบตัวอสุจิเพียง 1 ตัวในส่วน ampulla ในแม่สุกร 1 ตัวจากกลุ่มที่ผสมเทียมด้วยวิธี IUI โดยสรุปการผสมเทียมด้วยวิธี DIUI จะพบจำนวนตัวอสุจิในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิที่ 24 ชั่วโมงหลังทำการผสมเทียมน้อยกว่าเมื่อเทียบกับวิธี AI และ IUI อย่างมีนัยสำคัญ ตัวอสุจิสามารถไปอยู่ในแหล่งกักเก็บตัวอสุจิได้ทั้งสองข้างหลังทำการผสมเทียมด้วยวิธี AI และ IUI แต่ในแม่สุกรกลุ่มที่ทำการผสมเทียมด้วยวิธี DIUI พบได้เพียง 1 ตัวจาก 5 ตัว The aim of this study was to investigate the number of spermatozoa in the crypts of the uterotubal junction (UTJ) and the oviduct of sows approximately 24 h after intrauterine insemination (IUI) and deep intrauterine insemination (DIUI) and compared with that of conventional artificial insemination (AI). Fifteen crossbred Landrace x Yorkshire (LY) multiparous sows were used in the experiment. Transrectal ultrasonography was performed every 4 h to examine the time of ovulation in relation to oestrous behaviour. The sows were inseminated with a single dose of diluted fresh semen by the AI (n = 5), IUI (n = 5) and DIUI (n = 5) at approximately 6–8 h prior to the expected time of ovulation, during the second oestrus after weaning. The sperm dose contained 3000x106 spermatozoa in 100 ml for AI, 1,000 x 106 spermatozoa in 50 ml for IUI and 150x106 spermatozoa in 5 ml for DIUI. The sows were anaesthetized and ovario-hysterectomized approximately 24 h after insemination. The oviducts and the proximal part of the uterine horns (1 cm) on each side of the reproductive tracts were collected. The section was divided into four parts, i.e. UTJ, caudal isthmus, cranial isthmus and ampulla. The spermatozoa in the lumen in each part were flushed several times with phosphate buffer solution. After flushing, the UTJ and all parts of the oviducts were immersed in a 10% neutral buffered formalin solution. The UTJ and each part of the oviducts were cut into four equal parts and embedded in a paraffin block. The tissue sections were transversely sectioned to a thickness of 5 lm. Every fifth serial section was mounted and stained with haematoxylin and eosin. The total number of spermatozoa from 32 sections in each parts of the tissue (16 sections from the left side and 16 sections from the right side) was determined under light microscope. The results reveal that most of the spermatozoa in the histological section were located in groups in the epithelial crypts. The means of the total number of spermatozoa in the sperm reservoir (UTJ and caudal isthmus) were 2296, 729 and 22 cells in AI, IUI and DIUI groups, respectively (p < 0.01). The spermatozoa were found on both sides of the sperm reservoir in all sows in the AI and the IUI groups. For the DIUI group, spermatozoa were not found on any side of the sperm reservoir in three out of five sows, found in unilateral side of the sperm reservoir in one sow and found in both sides of the sperm reservoir in one sow. No spermatozoa were found in the cranial isthmus, while only one spermatozoon was found in the ampulla part of a sow in the IUI group. In conclusion, DIUI resulted in a significantly lower number of spermatozoa in the sperm reservoir approximately 24 h after insemination compared with AI and IUI. Spermatozoa could be obtained from both sides of the sperm reservoir after AI and IUI but in one out of five sows inseminated by DIUI. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2009-06-03T10:50:31Z 2009-06-03T10:50:31Z 2552 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8942 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1231273 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย