การตรวจวิเคราะห์สารมาลาไคต์กรีนและเมตะบอไลต์ลิวโคมาลาไคต์กรีนตกค้างในสัตว์น้ำเพาะเลี้ยงด้วยเทคนิค LC-MS/MS และเทคนิค HPLC-UV-VISIBLE : รายงานการวิจัย
งานวิจัยนี้ได้พัฒนาวิธีวิเคราะห์MG และ LMG พร้อมกันในตัวอย่างสัตว์น้ำเพาะเลี้ยง ให้มีความถูกต้องแม่นยำสูง ด้วยการเตรียมตัวอย่างที่มีขึ้นตอนงายและรวดเร็วขึ้น ใช้เตาอบไมโครเวฟในการสกัดและคลีนอัพ และวิเคราะห์ MG และ LMG ด้วยเทคนิค LC-MS/MS มีสารคริสตัลไวโอเล็ต (Crystal violet, CV) เป็น internal standar...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9136 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Summary: | งานวิจัยนี้ได้พัฒนาวิธีวิเคราะห์MG และ LMG พร้อมกันในตัวอย่างสัตว์น้ำเพาะเลี้ยง ให้มีความถูกต้องแม่นยำสูง ด้วยการเตรียมตัวอย่างที่มีขึ้นตอนงายและรวดเร็วขึ้น ใช้เตาอบไมโครเวฟในการสกัดและคลีนอัพ และวิเคราะห์ MG และ LMG ด้วยเทคนิค LC-MS/MS มีสารคริสตัลไวโอเล็ต (Crystal violet, CV) เป็น internal standard ที่ ionpairs ดังนี้ : MG 329.3/208.2, 329.3/313.1, LMG331.3/165.4, 331.3/239.3 และ CV (internal standard) 372.2/356.3 วิธีวิเคราะห์อีกวิธีหนึ่งคือการตรวจวิเคราะห์มาลาไคต์กรีน ลิวโคมาลาไคต์กรีน คริสตัลไวโอเล็ต ลิวโคคริสตัลไวโอเล็ต ตกค้างในสัตว์น้ำเพาะเลี้ยง เช่น ปลา กุ้ง พร้อมกันด้วยเทคนิค HPLC-DAD(multiwavelength) คอลัมน์ชนิด Zorbax stable bond C18, 150x4.6 mm, 5 [mu]m พร้อม guard column ชนิดเดียวกัน mobile phase คือ ammonium acetate buffer (0.05 M, pH 4.5) และ acetonitrile และใช้ gradient elution ตรวจวัดสารทั้งสี่ชนิดพร้อมกันด้วยเครื่องตรวจวัดแบบ diode array detector (DAD) ที่หลายความยาวคลื่นได้แก่ 618 nm(0.00-7.00 min), 585 nm(7.01-12.00 min), 265 nm(12.01-20.00 min) วิเคราะห์ปริมาณโดยอาศัย external calibration curve ของ total MG (ปริมาณ MG+LMG) และของ total CV (ปริมาณ CV+LCV) |
---|