ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี
บทความนี้ต้องการเสนอความคิดในการรู้รักษาตัวรอดของคนไทยที่ได้รับผ่านมาทางพระพุทธศาสนาและถ่ายทอดไว้ในภาษาและวรรณคดีไทย ผลจากการศึกษาวรรณคดี 3 เรื่อง คือ บทละครนอกเรื่องสังข์ทองสำนวนรัชกาลที่ 2 บทเสภาเรื่องขุนช้าง-ขุนแผน และนิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ พบว่า ตัวละครในทุกเรื่องยอมรับว่า ความสุ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9508 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9508 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.95082009-08-03T08:28:29Z ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี สุกัญญา สุจฉายา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ วรรณคดีไทย -- การวิเคราะห์ บทความนี้ต้องการเสนอความคิดในการรู้รักษาตัวรอดของคนไทยที่ได้รับผ่านมาทางพระพุทธศาสนาและถ่ายทอดไว้ในภาษาและวรรณคดีไทย ผลจากการศึกษาวรรณคดี 3 เรื่อง คือ บทละครนอกเรื่องสังข์ทองสำนวนรัชกาลที่ 2 บทเสภาเรื่องขุนช้าง-ขุนแผน และนิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ พบว่า ตัวละครในทุกเรื่องยอมรับว่า ความสุขและความทุกข์เป็นของคู่กัน ไม่มีสภาวะใดคงที่ ความทุกข์เกิดจากกรรม วิธีดับทุกข์ในขณะที่ต้องเผชิญวิบากกรรมนั้นก็คือ “การรักษาตัว” โดยการครองตัวให้อยู่ในศีลธรรม ด้วยความอดทน เพื่อหวังว่าบุญกุศลที่ทำมาจะทำให้กรรมค่อยๆหมดไป ความอดทนรอดูผลระยะยามเป็นภูมิปัญญาหนึ่งที่ช่วยให้คนไทยสามารถเผชิญด้วยเผชิญปัญหาด้วยความอดทนและไม่รีบร้อน นอกจากนี้กวีไทยยังให้ความสำคัญกับจิตใจเป็นพิเศษ จึงปรากฏคำที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกของ “ใจ” ที่หลากหลาย 2009-08-03T08:28:29Z 2009-08-03T08:28:29Z 2544 Article วารสารภาษาและวรรณคดีไทย. 18(ธ.ค. 2544),44-52 0857-037x http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9508 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1171680 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
วรรณคดีไทย -- การวิเคราะห์ |
spellingShingle |
วรรณคดีไทย -- การวิเคราะห์ สุกัญญา สุจฉายา ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี |
description |
บทความนี้ต้องการเสนอความคิดในการรู้รักษาตัวรอดของคนไทยที่ได้รับผ่านมาทางพระพุทธศาสนาและถ่ายทอดไว้ในภาษาและวรรณคดีไทย ผลจากการศึกษาวรรณคดี 3 เรื่อง คือ บทละครนอกเรื่องสังข์ทองสำนวนรัชกาลที่ 2 บทเสภาเรื่องขุนช้าง-ขุนแผน และนิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ พบว่า ตัวละครในทุกเรื่องยอมรับว่า ความสุขและความทุกข์เป็นของคู่กัน ไม่มีสภาวะใดคงที่ ความทุกข์เกิดจากกรรม วิธีดับทุกข์ในขณะที่ต้องเผชิญวิบากกรรมนั้นก็คือ “การรักษาตัว” โดยการครองตัวให้อยู่ในศีลธรรม ด้วยความอดทน เพื่อหวังว่าบุญกุศลที่ทำมาจะทำให้กรรมค่อยๆหมดไป ความอดทนรอดูผลระยะยามเป็นภูมิปัญญาหนึ่งที่ช่วยให้คนไทยสามารถเผชิญด้วยเผชิญปัญหาด้วยความอดทนและไม่รีบร้อน นอกจากนี้กวีไทยยังให้ความสำคัญกับจิตใจเป็นพิเศษ จึงปรากฏคำที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกของ “ใจ” ที่หลากหลาย |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ สุกัญญา สุจฉายา |
format |
Article |
author |
สุกัญญา สุจฉายา |
author_sort |
สุกัญญา สุจฉายา |
title |
ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี |
title_short |
ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี |
title_full |
ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี |
title_fullStr |
ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี |
title_full_unstemmed |
ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี |
title_sort |
ภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดี |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9508 |
_version_ |
1681412139872419840 |