ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง
การสำรวจภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชน แต่ยังไม่พบข้อมูลเฉพาะเจาะจงทางกายที่สามารถนำมาวิเคราะห์ปัญหาความบกพร่องในการทำกิจวัตรประจำวันผู้สูงอายุไทยในชุมชนได้ทั้งนี้ เพื่อทราบข้อมูลความชุกความบกพร่องทางกาย และปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองในชุมชนเขตเมืองและชนบท โดยทำการสุ่มเลือกพ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Original Article |
Language: | Thai |
Published: |
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10367 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.10367 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.103672023-04-12T15:32:50Z ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง Survey of Physical Disability of Thai Elderly in the Central Region Community วิมลวรรณ เหียงแก้ว ภครตี ชัยวัฒน์ มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด ภาวะความบกพร่องทางกาย ผู้สูงอายุไทย ชุมชน ภาคกลาง Survey Physical disability Thai elderly Community Central region การสำรวจภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชน แต่ยังไม่พบข้อมูลเฉพาะเจาะจงทางกายที่สามารถนำมาวิเคราะห์ปัญหาความบกพร่องในการทำกิจวัตรประจำวันผู้สูงอายุไทยในชุมชนได้ทั้งนี้ เพื่อทราบข้อมูลความชุกความบกพร่องทางกาย และปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองในชุมชนเขตเมืองและชนบท โดยทำการสุ่มเลือกพื้นที่ใช้วิธีcluster sampling ในผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนเมืองและชนบทเฉพาะในเขตภาคกลาง โดยแบบสำรวจประกอบด้วย 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามความพิการและการประกอบกิจกรรม 3) การตรวจร่างกายของข้อต่อ4) การล้มและอื่นๆ ตามลำดับ พบว่าผู้เข้าร่วมเป็นผู้สูงอายุไทย อาศัยอยู่ในชุมชนเมืองจำนวน 1,315 คน และชุมชนชนบทจำนวน 649 คนรวมจำนวน 1,964คนเป็นชาย646คน หญิง1,318คนมีปัญหาโรคเบาหวานมากถึง26% ทั้งนี้ยังมีผู้สูงอายุที่ไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวานหรือไม่อยู่ 32 % มีความบกพร่องทางกายอันดับ 1 คือ ที่กระดูกสันหลังระดับเอวคิดเป็นประมาณ 27.4% อันดับ 2 ที่ข้อเข่า คิดเป็นประมาณ 17.6% อันดับ 3 ที่เท้าและนิ้วเท้า คิดเป็นประมาณ 11.5 % ความบกพร่องเหล่านี้เกี่ยวข้องกับภาวะเสี่ยงต่อการล้ม กิจกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการเดิน การขึ้น-ลงบันได การจับจ่ายซื้อของ การเอื้อมหยิบของเหนือศีรษะ เป็นต้น โดยข้อมูลพื้นฐานนี้เป็นฐานความรู้สำหรับนักกายภาพบำบัดในการพัฒนาการเรียนการสอน และการบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน โดยการให้ความรู้จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจากชุมชนสู่ชุมชน และให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้รับผิดชอบชุมชน ทั้งนี้ผลจากการสำรวจนี้นำไปสู่การออกแบบโปรแกรมการจัดการทางกายภาพบำบัดเพื่อป้องกันและแก้ไขภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงและสร้างเสริมสุขภาของผู้สูงอายุในชุมชนต่อไป 2013-05-08T07:15:38Z 2018-03-23T07:28:02Z 2013-05-08T07:15:38Z 2018-03-23T07:28:02Z 2556-04-10 2555-01 Original Article วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว. ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (2555), 12-24 1906-3199 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10367 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ภาวะความบกพร่องทางกาย ผู้สูงอายุไทย ชุมชน ภาคกลาง Survey Physical disability Thai elderly Community Central region |
spellingShingle |
ภาวะความบกพร่องทางกาย ผู้สูงอายุไทย ชุมชน ภาคกลาง Survey Physical disability Thai elderly Community Central region วิมลวรรณ เหียงแก้ว ภครตี ชัยวัฒน์ มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง |
description |
การสำรวจภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชน แต่ยังไม่พบข้อมูลเฉพาะเจาะจงทางกายที่สามารถนำมาวิเคราะห์ปัญหาความบกพร่องในการทำกิจวัตรประจำวันผู้สูงอายุไทยในชุมชนได้ทั้งนี้
เพื่อทราบข้อมูลความชุกความบกพร่องทางกาย และปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองในชุมชนเขตเมืองและชนบท โดยทำการสุ่มเลือกพื้นที่ใช้วิธีcluster sampling ในผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนเมืองและชนบทเฉพาะในเขตภาคกลาง โดยแบบสำรวจประกอบด้วย 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามความพิการและการประกอบกิจกรรม 3) การตรวจร่างกายของข้อต่อ4) การล้มและอื่นๆ ตามลำดับ พบว่าผู้เข้าร่วมเป็นผู้สูงอายุไทย อาศัยอยู่ในชุมชนเมืองจำนวน 1,315 คน และชุมชนชนบทจำนวน 649 คนรวมจำนวน 1,964คนเป็นชาย646คน หญิง1,318คนมีปัญหาโรคเบาหวานมากถึง26% ทั้งนี้ยังมีผู้สูงอายุที่ไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวานหรือไม่อยู่ 32 % มีความบกพร่องทางกายอันดับ 1 คือ ที่กระดูกสันหลังระดับเอวคิดเป็นประมาณ 27.4% อันดับ 2 ที่ข้อเข่า คิดเป็นประมาณ 17.6% อันดับ 3 ที่เท้าและนิ้วเท้า คิดเป็นประมาณ 11.5 % ความบกพร่องเหล่านี้เกี่ยวข้องกับภาวะเสี่ยงต่อการล้ม กิจกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการเดิน การขึ้น-ลงบันได การจับจ่ายซื้อของ การเอื้อมหยิบของเหนือศีรษะ เป็นต้น โดยข้อมูลพื้นฐานนี้เป็นฐานความรู้สำหรับนักกายภาพบำบัดในการพัฒนาการเรียนการสอน และการบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน โดยการให้ความรู้จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจากชุมชนสู่ชุมชน และให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้รับผิดชอบชุมชน ทั้งนี้ผลจากการสำรวจนี้นำไปสู่การออกแบบโปรแกรมการจัดการทางกายภาพบำบัดเพื่อป้องกันและแก้ไขภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุ ลดความเสี่ยงและสร้างเสริมสุขภาของผู้สูงอายุในชุมชนต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด วิมลวรรณ เหียงแก้ว ภครตี ชัยวัฒน์ มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ |
format |
Original Article |
author |
วิมลวรรณ เหียงแก้ว ภครตี ชัยวัฒน์ มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ |
author_sort |
วิมลวรรณ เหียงแก้ว |
title |
ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง |
title_short |
ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง |
title_full |
ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง |
title_fullStr |
ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง |
title_full_unstemmed |
ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง |
title_sort |
ภาวะความบกพร่องทางกายของผู้สูงอายุไทยในชุมชนภาคกลาง |
publishDate |
2013 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10367 |
_version_ |
1781416025948946432 |