การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาท median หลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ทั้งชาย และหญิง อาสาสมัครที่มีผลการตรวจความตึงตัวของเส้นประสาท median (ULNT1) เป็นบวก จำนวน 17 คน (ชาย 6 คน หญิง 11 คน) ทั้งหมด 30 แขน ช่วงอายุระห่วาง 20-33 ปี พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมี...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชมพูนุท สุวรรณศรี, ณัชชา จงรัตนเมธีกุล, วชิราภรณ์ เสนาราษฎร์, จตุพร โพธิญาณ
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด
Format: Original Article
Language:English
Published: 2014
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10422
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: English
Description
Summary:งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาท median หลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ทั้งชาย และหญิง อาสาสมัครที่มีผลการตรวจความตึงตัวของเส้นประสาท median (ULNT1) เป็นบวก จำนวน 17 คน (ชาย 6 คน หญิง 11 คน) ทั้งหมด 30 แขน ช่วงอายุระห่วาง 20-33 ปี พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (P < 0.05) ขององศาการเหยียดข้อศอกขณะตรวจ ULNT1 ระหว่างก่อนและหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ทั้ง 3 มัด (pectoralis major: sternal part, pectoralis major: clavicular part, pectoralis minor) ด้วยเทคนิค MET (Muscle Energy Techniques) ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององศาการเหยียดข้อศอกขณะตรวจ ULNT1 ก่อนคลายกล้าม เนื้อ pectoral ในชายและหญิง คือ 147.32°±10.81°, 143.66° ±8.07°และหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในชาย และหญิง คือ 153.77° ± 11.73°, 153.87° ±12.06° ตามลำดับ พบว่าการคลายกล้ามเนื้อ pectoral สามารถทำให้มุม การเหยียดข้อศอกในท่าที่ทำให้เกิดความตึงตัวของเส้นประสาท median เพิ่มขึ้น