การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาท median หลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ทั้งชาย และหญิง อาสาสมัครที่มีผลการตรวจความตึงตัวของเส้นประสาท median (ULNT1) เป็นบวก จำนวน 17 คน (ชาย 6 คน หญิง 11 คน) ทั้งหมด 30 แขน ช่วงอายุระห่วาง 20-33 ปี พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมี...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชมพูนุท สุวรรณศรี, ณัชชา จงรัตนเมธีกุล, วชิราภรณ์ เสนาราษฎร์, จตุพร โพธิญาณ
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด
Format: Original Article
Language:English
Published: 2014
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10422
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: English
id th-mahidol.10422
record_format dspace
spelling th-mahidol.104222023-04-12T15:27:48Z การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก Changing of nerve tension after releasing pectoral muscle in positive ULNT 1 participant ชมพูนุท สุวรรณศรี ณัชชา จงรัตนเมธีกุล วชิราภรณ์ เสนาราษฎร์ จตุพร โพธิญาณ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด Pectoralis major muscle tension Pectoralis minor muscle tension Neurodynamic test Upper limb neurodynamic test Muscle energy technique งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาท median หลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ทั้งชาย และหญิง อาสาสมัครที่มีผลการตรวจความตึงตัวของเส้นประสาท median (ULNT1) เป็นบวก จำนวน 17 คน (ชาย 6 คน หญิง 11 คน) ทั้งหมด 30 แขน ช่วงอายุระห่วาง 20-33 ปี พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (P < 0.05) ขององศาการเหยียดข้อศอกขณะตรวจ ULNT1 ระหว่างก่อนและหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ทั้ง 3 มัด (pectoralis major: sternal part, pectoralis major: clavicular part, pectoralis minor) ด้วยเทคนิค MET (Muscle Energy Techniques) ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององศาการเหยียดข้อศอกขณะตรวจ ULNT1 ก่อนคลายกล้าม เนื้อ pectoral ในชายและหญิง คือ 147.32°±10.81°, 143.66° ±8.07°และหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในชาย และหญิง คือ 153.77° ± 11.73°, 153.87° ±12.06° ตามลำดับ พบว่าการคลายกล้ามเนื้อ pectoral สามารถทำให้มุม การเหยียดข้อศอกในท่าที่ทำให้เกิดความตึงตัวของเส้นประสาท median เพิ่มขึ้น 2014-03-12T05:02:25Z 2018-03-26T02:37:34Z 2014-03-12T05:02:25Z 2018-03-26T02:37:34Z 2014-03-12 2556-09 Original Article วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด. ปีที่ 25, ฉบับที่ 3 (2556), 297-310 0857-6653 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10422 eng มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยขอนแก่น
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language English
topic Pectoralis major muscle tension
Pectoralis minor muscle tension
Neurodynamic test
Upper limb neurodynamic test
Muscle energy technique
spellingShingle Pectoralis major muscle tension
Pectoralis minor muscle tension
Neurodynamic test
Upper limb neurodynamic test
Muscle energy technique
ชมพูนุท สุวรรณศรี
ณัชชา จงรัตนเมธีกุล
วชิราภรณ์ เสนาราษฎร์
จตุพร โพธิญาณ
การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก
description งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาท median หลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ทั้งชาย และหญิง อาสาสมัครที่มีผลการตรวจความตึงตัวของเส้นประสาท median (ULNT1) เป็นบวก จำนวน 17 คน (ชาย 6 คน หญิง 11 คน) ทั้งหมด 30 แขน ช่วงอายุระห่วาง 20-33 ปี พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (P < 0.05) ขององศาการเหยียดข้อศอกขณะตรวจ ULNT1 ระหว่างก่อนและหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ทั้ง 3 มัด (pectoralis major: sternal part, pectoralis major: clavicular part, pectoralis minor) ด้วยเทคนิค MET (Muscle Energy Techniques) ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององศาการเหยียดข้อศอกขณะตรวจ ULNT1 ก่อนคลายกล้าม เนื้อ pectoral ในชายและหญิง คือ 147.32°±10.81°, 143.66° ±8.07°และหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในชาย และหญิง คือ 153.77° ± 11.73°, 153.87° ±12.06° ตามลำดับ พบว่าการคลายกล้ามเนื้อ pectoral สามารถทำให้มุม การเหยียดข้อศอกในท่าที่ทำให้เกิดความตึงตัวของเส้นประสาท median เพิ่มขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด
ชมพูนุท สุวรรณศรี
ณัชชา จงรัตนเมธีกุล
วชิราภรณ์ เสนาราษฎร์
จตุพร โพธิญาณ
format Original Article
author ชมพูนุท สุวรรณศรี
ณัชชา จงรัตนเมธีกุล
วชิราภรณ์ เสนาราษฎร์
จตุพร โพธิญาณ
author_sort ชมพูนุท สุวรรณศรี
title การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก
title_short การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก
title_full การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก
title_fullStr การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก
title_full_unstemmed การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ULNT 1 เป็นบวก
title_sort การเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของเส้นประสาทหลังการคลายกล้ามเนื้อ pectoral ในผู้ที่มีผล ulnt 1 เป็นบวก
publishDate 2014
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10422
_version_ 1781415337016688640