ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาฤทธิ์การต้านจุลินทรีย์ของวานิลลิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลัก ของสารแต่งกลิ่นวานิลลา ต่อเชื้อราในช่องปาก คือ แคนดิดา อัลบิแคนส์, แคนดิดา ครูซิไอ, แคนดิดา พาแรพซิโลซิส, และแคนดิดา กลาบราตา วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: เตรียมสารละลายวานิลลินในเอทิลอัลกอฮอล์ ความ เข้มข้นร้อยละ 99...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1056 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.1056 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การยับยั้งจุลินทรีย์ วานิลลิน แคนดิดา แคนดิดา อัลบิแคนส แคนดิดา กลา บราตา แคนดิดา พาแรมซิโลซิส แคนดิดา ครูซิไอ Antimicrobia Vanillin Candida Candida albicans Candida glabrata Candida parapsilosis Candida Krusei Open Access article วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล Mahidol Dental Journal |
spellingShingle |
การยับยั้งจุลินทรีย์ วานิลลิน แคนดิดา แคนดิดา อัลบิแคนส แคนดิดา กลา บราตา แคนดิดา พาแรมซิโลซิส แคนดิดา ครูซิไอ Antimicrobia Vanillin Candida Candida albicans Candida glabrata Candida parapsilosis Candida Krusei Open Access article วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล Mahidol Dental Journal ธนิยา หมวดเชียงคะ Taniya Muadcheingka บุญนิตย์ ทวีบูรณ์ Boonyanit Thaweboon รัตติพร กายเพชร Rattiporn Kaypetch สร้อยศิริ ทวีบูรณ์ Sroisiri Thaweboon ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน |
description |
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาฤทธิ์การต้านจุลินทรีย์ของวานิลลิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลัก
ของสารแต่งกลิ่นวานิลลา ต่อเชื้อราในช่องปาก คือ แคนดิดา อัลบิแคนส์, แคนดิดา
ครูซิไอ, แคนดิดา พาแรพซิโลซิส, และแคนดิดา กลาบราตา
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: เตรียมสารละลายวานิลลินในเอทิลอัลกอฮอล์ ความ
เข้มข้นร้อยละ 99.7-100 ให้มีขนาดความเข้มข้นของวานิลลินตั้งแต่ 500 มิลลิโมลาร์ ไป
จนถึง1.92 มิลลิโมลาร์ ทำการทดสอบคัดกรองฤทธิ์การต้านจุลินทรีย์โดยใช้วิธี เอการ์
ดิสค์ ดิฟฟิวชัน ต่อเชื้อยีสต์ แคนดิดา อัลบิแคนส์ เอทีซีซี 10231 แคนดิดา กลาบราตา
เอทีซีซี 90030 แคนดิดา พาแรพซิโลซิส เอทีซีซี 20019 และแคนดิดา ครูซิไอ เอทีซีซี
6258 ซึ่งได้จากคลังจุลินทรีย์ของภาควิชาจุลชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล จากนั้นทำการทดสอบหาความเข้มข้นที่น้อยที่สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อ
และความเข้มข้นที่น้อยที่สุดที่สามารถทำลายเชื้อ โดยวิธี บรอท ไมโครไดลูชัน
ผลการศึกษา: จากวิธีเอการ์ ดิสค์ ดิฟฟิวชัน พบว่า สารละลายวานิลลินที่ความเข้มข้น
ตั้งแต่ 500-62.5 มิลลิโมลาร์ ให้ผลการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแคนดิดาได้ โดยมี
ขนาดของขอบเขตการยับยั้งเชื้อแตกต่างกัน ตั้งแต่ 8-25 มิลลิเมตร ความเข้มข้นที่น้อย
ที่สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อแคนดิดาสปีชีส์ต่างๆ มีค่าตั้งแต่ 3.91-15.63 มิลลิโมลาร์ และ
ความเข้มข้นที่น้อยที่สุดที่สามารถทำลายเชื้อแคนดิดามีค่า 7.81 และ 31.25 มิลลิโมลาร์
วิจารณ์: วานิลลินมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อราแคนดิดาสปีชีส์ต่างๆ ทั้ง 4 สปีชีส์ ที่นำมา
ทดสอบ การศึกษานี้แสดงความเป็นไปได้ในการนำวานิลลินมาใช้ในการรักษาการติดเชื้อ
ราในช่องปาก อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องมีการศึกษาต่อไปในอนาคตโดยเฉพาะการศึกษา
ทางคลินิก เพื่อประเมินประสิทธิภาพของวานิลลินก่อนที่จะนำไปใช้ในผู้ป่วย |
author2 |
บุญนิตย์ ทวีบูรณ์ |
author_facet |
บุญนิตย์ ทวีบูรณ์ ธนิยา หมวดเชียงคะ Taniya Muadcheingka บุญนิตย์ ทวีบูรณ์ Boonyanit Thaweboon รัตติพร กายเพชร Rattiporn Kaypetch สร้อยศิริ ทวีบูรณ์ Sroisiri Thaweboon |
format |
Article |
author |
ธนิยา หมวดเชียงคะ Taniya Muadcheingka บุญนิตย์ ทวีบูรณ์ Boonyanit Thaweboon รัตติพร กายเพชร Rattiporn Kaypetch สร้อยศิริ ทวีบูรณ์ Sroisiri Thaweboon |
author_sort |
ธนิยา หมวดเชียงคะ |
title |
ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน |
title_short |
ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน |
title_full |
ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน |
title_fullStr |
ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน |
title_full_unstemmed |
ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน |
title_sort |
ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน |
publishDate |
2015 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1056 |
_version_ |
1781414732040765440 |
spelling |
th-mahidol.10562023-04-12T15:25:03Z ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน In vitro inhibition of oral fungi by vanillin. ธนิยา หมวดเชียงคะ Taniya Muadcheingka บุญนิตย์ ทวีบูรณ์ Boonyanit Thaweboon รัตติพร กายเพชร Rattiporn Kaypetch สร้อยศิริ ทวีบูรณ์ Sroisiri Thaweboon บุญนิตย์ ทวีบูรณ์ Boonyanit Thaweboon มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยาช่องปาก มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. สำนักงานการวิจัย การยับยั้งจุลินทรีย์ วานิลลิน แคนดิดา แคนดิดา อัลบิแคนส แคนดิดา กลา บราตา แคนดิดา พาแรมซิโลซิส แคนดิดา ครูซิไอ Antimicrobia Vanillin Candida Candida albicans Candida glabrata Candida parapsilosis Candida Krusei Open Access article วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล Mahidol Dental Journal วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาฤทธิ์การต้านจุลินทรีย์ของวานิลลิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลัก ของสารแต่งกลิ่นวานิลลา ต่อเชื้อราในช่องปาก คือ แคนดิดา อัลบิแคนส์, แคนดิดา ครูซิไอ, แคนดิดา พาแรพซิโลซิส, และแคนดิดา กลาบราตา วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: เตรียมสารละลายวานิลลินในเอทิลอัลกอฮอล์ ความ เข้มข้นร้อยละ 99.7-100 ให้มีขนาดความเข้มข้นของวานิลลินตั้งแต่ 500 มิลลิโมลาร์ ไป จนถึง1.92 มิลลิโมลาร์ ทำการทดสอบคัดกรองฤทธิ์การต้านจุลินทรีย์โดยใช้วิธี เอการ์ ดิสค์ ดิฟฟิวชัน ต่อเชื้อยีสต์ แคนดิดา อัลบิแคนส์ เอทีซีซี 10231 แคนดิดา กลาบราตา เอทีซีซี 90030 แคนดิดา พาแรพซิโลซิส เอทีซีซี 20019 และแคนดิดา ครูซิไอ เอทีซีซี 6258 ซึ่งได้จากคลังจุลินทรีย์ของภาควิชาจุลชีววิทยาช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จากนั้นทำการทดสอบหาความเข้มข้นที่น้อยที่สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อ และความเข้มข้นที่น้อยที่สุดที่สามารถทำลายเชื้อ โดยวิธี บรอท ไมโครไดลูชัน ผลการศึกษา: จากวิธีเอการ์ ดิสค์ ดิฟฟิวชัน พบว่า สารละลายวานิลลินที่ความเข้มข้น ตั้งแต่ 500-62.5 มิลลิโมลาร์ ให้ผลการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแคนดิดาได้ โดยมี ขนาดของขอบเขตการยับยั้งเชื้อแตกต่างกัน ตั้งแต่ 8-25 มิลลิเมตร ความเข้มข้นที่น้อย ที่สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อแคนดิดาสปีชีส์ต่างๆ มีค่าตั้งแต่ 3.91-15.63 มิลลิโมลาร์ และ ความเข้มข้นที่น้อยที่สุดที่สามารถทำลายเชื้อแคนดิดามีค่า 7.81 และ 31.25 มิลลิโมลาร์ วิจารณ์: วานิลลินมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อราแคนดิดาสปีชีส์ต่างๆ ทั้ง 4 สปีชีส์ ที่นำมา ทดสอบ การศึกษานี้แสดงความเป็นไปได้ในการนำวานิลลินมาใช้ในการรักษาการติดเชื้อ ราในช่องปาก อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องมีการศึกษาต่อไปในอนาคตโดยเฉพาะการศึกษา ทางคลินิก เพื่อประเมินประสิทธิภาพของวานิลลินก่อนที่จะนำไปใช้ในผู้ป่วย Objectives: To investigate the antimicrobial potential of vanillin, the major component of vanilla flavor, against oral fungi, Candida albicans, Candida krusei, Candida parapsilosis and Candida glabrata. Materials and methods: Vanillin was diluted in 99.7-100% ethyl alcohol at concentrations ranging from 500 mM to 1.92 mM. The tested oral yeast strains were Candida albicans ATCC 10231, Candida glabrata ATCC 90030, Candida parapsilosis ATCC 20019 and Candida krusei ATCC 6258 obtained from culture collection of the Department of Oral Microbiology, Faculty of Dentistry, Mahidol University. An agar diffusion method was employed for screening antimicrobial activity. Minimum inhibitory concentration (MIC) and minimum cidal concentration (MCC) were then determined for sensitive species using broth microdilution method. Results: In the agar diffusion test, vanillin suspension at the concentrations ranged from 500 mM to 62.5 mM were able to inhibit all the tested candida species with the zones of inhibition ranging from 8 mm to 25 mm. MICs against the oral yeasts ranged from 3.91 to15.63 mM and those of MCCs were 7.81 mM and 31.25 mM. Conclusion: Vanillin has the potential to inhibit all four selected oral yeast species. This finding indicates the possibility of using vanillin for the treatment of oral yeast infection. However, further studies especially clinical studies are still needed to evaluate the effect before considering using in humans. 2015-02-25T08:23:24Z 2016-12-27T07:16:33Z 2015-02-25T08:23:24Z 2016-12-27T07:16:33Z 2015-02-18 2013-09 Article ธนิยา หมวดเชียงคะ, บุญนิตย์ ทวีบูรณ์, รัตติพร กายเพชร, สร้อยศิริ ทวีบูรณ์. ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อราในช่องปากของวานิลลิน. ว ทันต มหิดล. 2556; 33(3): 176-83. 0125-5614 (printed) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1056 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |