ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อขาแบบไอโซไคเนติคต่อน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยก (MAWOL) และเปรียบเทียบค่า MAWOL ระหว่างกลุ่มคนที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา (BSTL) และกลุ่มคนที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขามากกว่ากล้ามเนื้อหลัง (...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10995 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.10995 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.109952023-04-12T15:20:58Z ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ Relationship between back and leg isokinetic strength with maximun acceptable weight of lift in thai males: psychophysical method บุคอรี ปุตสะ วรรธนะ ชลายนเดชะ ชนัตถ์ อาคมานนท์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด น้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยก ไซโคฟิสิกค์ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การยกของ ไอโซไคเนติค การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อขาแบบไอโซไคเนติคต่อน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยก (MAWOL) และเปรียบเทียบค่า MAWOL ระหว่างกลุ่มคนที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา (BSTL) และกลุ่มคนที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขามากกว่ากล้ามเนื้อหลัง (LSTB) ในชายไทยสุขภาพดีอายุระหว่าง 18-30 ปี จำนวน 35 คน วิธีการศึกษา วัดค่าความแข็งแรงสูงสุด (peak torque) ของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อขาแบบไอโซไคเนติคด้วยเครื่อง BIODEX® และประเมินหาน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ ผลการศึกษา พบความสัมพันธืระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังต่อกล้ามเนื้อขา (r = 0.486. p < 0.05) แต่ไม่พบความสัมพันธืระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังต่อ MAWOL และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาต่อ MAWOL (p < 0.05) น้ำหนักมากสุดที่ยอมรับได้ในการยกของกลุ่ม LSTB มีค่ามากกว่ากลุ่ม BSTL โดยทั้งสองกลุ่มมี MAWOL ที่ไม่แตกต่างกัน สรุปผลการศึกษา ผู้ที่มีความแข็งแรงของหลังมาก มีแนวโน้มที่ความแข็งแรงของขามากตามไปด้วย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อขาไม่สัมพันธ์ต่อ MAWOL ผู้ที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังหรือขามาก ไม่จำเป็นต้องยกน้ำหนักได้มากเมื่อประเมินด้วยวิธีไซโคฟิสิกค์ 2018-04-24T12:42:15Z 2018-04-24T12:42:15Z 2561-04 2557 Article วาสารความปลอดภัยและสุขภาพ. ปีที่ 7, ฉบับที่ 25 (2557), 46-54 1905-8160 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10995 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
น้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยก ไซโคฟิสิกค์ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การยกของ ไอโซไคเนติค |
spellingShingle |
น้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยก ไซโคฟิสิกค์ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การยกของ ไอโซไคเนติค บุคอรี ปุตสะ วรรธนะ ชลายนเดชะ ชนัตถ์ อาคมานนท์ ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ |
description |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อขาแบบไอโซไคเนติคต่อน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยก (MAWOL) และเปรียบเทียบค่า MAWOL ระหว่างกลุ่มคนที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา (BSTL) และกลุ่มคนที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขามากกว่ากล้ามเนื้อหลัง (LSTB) ในชายไทยสุขภาพดีอายุระหว่าง 18-30 ปี จำนวน 35 คน วิธีการศึกษา วัดค่าความแข็งแรงสูงสุด (peak torque) ของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อขาแบบไอโซไคเนติคด้วยเครื่อง BIODEX® และประเมินหาน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ ผลการศึกษา พบความสัมพันธืระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังต่อกล้ามเนื้อขา (r = 0.486. p < 0.05) แต่ไม่พบความสัมพันธืระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังต่อ MAWOL และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาต่อ MAWOL (p < 0.05) น้ำหนักมากสุดที่ยอมรับได้ในการยกของกลุ่ม LSTB มีค่ามากกว่ากลุ่ม BSTL โดยทั้งสองกลุ่มมี MAWOL ที่ไม่แตกต่างกัน
สรุปผลการศึกษา ผู้ที่มีความแข็งแรงของหลังมาก มีแนวโน้มที่ความแข็งแรงของขามากตามไปด้วย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อขาไม่สัมพันธ์ต่อ MAWOL ผู้ที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังหรือขามาก ไม่จำเป็นต้องยกน้ำหนักได้มากเมื่อประเมินด้วยวิธีไซโคฟิสิกค์ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด บุคอรี ปุตสะ วรรธนะ ชลายนเดชะ ชนัตถ์ อาคมานนท์ |
format |
Article |
author |
บุคอรี ปุตสะ วรรธนะ ชลายนเดชะ ชนัตถ์ อาคมานนท์ |
author_sort |
บุคอรี ปุตสะ |
title |
ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ |
title_short |
ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ |
title_full |
ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ |
title_fullStr |
ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ |
title_full_unstemmed |
ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ |
title_sort |
ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาแบบไอโซไคเนติคกับน้ำหนักมากที่สุดที่ยอมรับได้ในการยกในชายไทย ประเมินโดยวิธีไซโคฟิสิกค์ |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10995 |
_version_ |
1781415587064315904 |