ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช

วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณาแบบภาคตัดขวาง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจํานวน 532 คน ถูกคัดเลือกแบบสะดวกจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ผู้เข้าร่วมวิจ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นันทนา ธนาโนวรรณ, Nanthana Thananowan
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/11197
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.11197
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การได้รับความรุนแรง
นรีเวช
ความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรส
ความชุก
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
spellingShingle การได้รับความรุนแรง
นรีเวช
ความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรส
ความชุก
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
นันทนา ธนาโนวรรณ
Nanthana Thananowan
ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช
description วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณาแบบภาคตัดขวาง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจํานวน 532 คน ถูกคัดเลือกแบบสะดวกจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ผู้เข้าร่วมวิจัยตอบชุดแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ประวัติทางเพศสัมพันธ์ และประวัติการได้รับความรุนแรง ผลการวิจัย: ความชุกของความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวชคิดเป็นร้อยละ 21.1 แบ่งเป็นความรุนแรงทางกาย ทางเพศ และทางจิตใจร้อยละ 17.3, 11.5 และ 13.2 ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ป่วยนรีเวชที่ไม่ได้รับความรุนแรง กลุ่มที่ได้รับความรุนแรงมีแนวโน้มมากกว่าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) ที่แยกกันอยู่กับคู่สมรส (ร้อยละ 38.4) เคยแต่งงานมากกว่าหนึ่งครั้ง (ร้อยละ 52.7) จบการศึกษาต่ํากว่าชั้นประถมศึกษา (ร้อยละ 53.6) มักไม่ได้ทํางานหรือเป็นนักเรียน/นักศึกษา (ร้อยละ 19.6) และรับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 67) มีรายได้น้อยกว่า 10,000 บาท/ เดือน (ร้อยละ 63.4) เศรษฐานะไม่พอใช้ (ร้อยละ 33) มีหนี้สิน (ร้อยละ 35.8) และมีความขัดแย้งในชีวิตสมรสเป็นประจํา (ร้อยละ 47.3) ผู้ป่วยนรีเวชกลุ่มนี้ยังดื่มสุรา (ร้อยละ 35.7) สูบบุหรี่ (ร้อยละ 15.2) ใช้สารเสพติด (ร้อยละ 7.1) และเล่นการพนัน (ร้อยละ 14.3) มากกว่าผู้ป่วยนรีเวชที่ไม่ได้รับความรุนแรงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) สําหรับปัจจัยทางเพศสัมพันธ์นั้นพบว่า ผู้ป่วยนรีเวชที่ได้รับความรุนแรงมักจะมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกในขณะที่มีอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 18 ปี มีคู่นอนหลายคน มีการตั้งครรภ์ การคลอด และการแท้งมากกว่าผู้ป่วยนรีเวชที่ไม่ได้รับความรุนแรงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) และที่สําคัญผู้ป่วยกลุ่มนี้ยังเคยมีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (ร้อยละ 58.9) สวนล้างช่องคลอด (ร้อยละ 49.1) ใช้ยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน (ร้อยละ 17) และเคยถูกบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ทางปาก (ร้อยละ 9.8) ทางทวารหนัก (ร้อยละ 8) หรือในขณะมีประจําเดือน (ร้อยละ 32.1) ในสัดส่วนที่สูงกว่าผู้ป่วยนรีเวชที่ไม่ได้รับความรุนแรงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางสุขภาพควรคัดกรองความรุนแรงและประเมินปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงในผู้ป่วยนรีเวช และควรจัดเตรียมแนวทางการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันความรุนแรงไว้ให้พร้อมในกรณีพบอุบัติการณ์ของความรุนแรงหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังกล่าว
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
นันทนา ธนาโนวรรณ
Nanthana Thananowan
format Article
author นันทนา ธนาโนวรรณ
Nanthana Thananowan
author_sort นันทนา ธนาโนวรรณ
title ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช
title_short ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช
title_full ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช
title_fullStr ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช
title_full_unstemmed ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช
title_sort ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/11197
_version_ 1763490360961531904
spelling th-mahidol.111972023-03-31T05:18:59Z ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช Prevalence and Factors Related to Intimate Partner Violence among Gynecology Patients นันทนา ธนาโนวรรณ Nanthana Thananowan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ การได้รับความรุนแรง นรีเวช ความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรส ความชุก Journal of Nursing Science วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวช รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณาแบบภาคตัดขวาง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจํานวน 532 คน ถูกคัดเลือกแบบสะดวกจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยนรีเวชโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ผู้เข้าร่วมวิจัยตอบชุดแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ประวัติทางเพศสัมพันธ์ และประวัติการได้รับความรุนแรง ผลการวิจัย: ความชุกของความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในผู้ป่วยนรีเวชคิดเป็นร้อยละ 21.1 แบ่งเป็นความรุนแรงทางกาย ทางเพศ และทางจิตใจร้อยละ 17.3, 11.5 และ 13.2 ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ป่วยนรีเวชที่ไม่ได้รับความรุนแรง กลุ่มที่ได้รับความรุนแรงมีแนวโน้มมากกว่าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) ที่แยกกันอยู่กับคู่สมรส (ร้อยละ 38.4) เคยแต่งงานมากกว่าหนึ่งครั้ง (ร้อยละ 52.7) จบการศึกษาต่ํากว่าชั้นประถมศึกษา (ร้อยละ 53.6) มักไม่ได้ทํางานหรือเป็นนักเรียน/นักศึกษา (ร้อยละ 19.6) และรับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 67) มีรายได้น้อยกว่า 10,000 บาท/ เดือน (ร้อยละ 63.4) เศรษฐานะไม่พอใช้ (ร้อยละ 33) มีหนี้สิน (ร้อยละ 35.8) และมีความขัดแย้งในชีวิตสมรสเป็นประจํา (ร้อยละ 47.3) ผู้ป่วยนรีเวชกลุ่มนี้ยังดื่มสุรา (ร้อยละ 35.7) สูบบุหรี่ (ร้อยละ 15.2) ใช้สารเสพติด (ร้อยละ 7.1) และเล่นการพนัน (ร้อยละ 14.3) มากกว่าผู้ป่วยนรีเวชที่ไม่ได้รับความรุนแรงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) สําหรับปัจจัยทางเพศสัมพันธ์นั้นพบว่า ผู้ป่วยนรีเวชที่ได้รับความรุนแรงมักจะมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกในขณะที่มีอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 18 ปี มีคู่นอนหลายคน มีการตั้งครรภ์ การคลอด และการแท้งมากกว่าผู้ป่วยนรีเวชที่ไม่ได้รับความรุนแรงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) และที่สําคัญผู้ป่วยกลุ่มนี้ยังเคยมีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (ร้อยละ 58.9) สวนล้างช่องคลอด (ร้อยละ 49.1) ใช้ยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน (ร้อยละ 17) และเคยถูกบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ทางปาก (ร้อยละ 9.8) ทางทวารหนัก (ร้อยละ 8) หรือในขณะมีประจําเดือน (ร้อยละ 32.1) ในสัดส่วนที่สูงกว่าผู้ป่วยนรีเวชที่ไม่ได้รับความรุนแรงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางสุขภาพควรคัดกรองความรุนแรงและประเมินปัจจัยที่สัมพันธ์กับความรุนแรงในผู้ป่วยนรีเวช และควรจัดเตรียมแนวทางการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันความรุนแรงไว้ให้พร้อมในกรณีพบอุบัติการณ์ของความรุนแรงหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังกล่าว Purpose: The purpose of this study was to examine the prevalence of and factors related to intimate partner violence (IPV) among gynecology patients.Design: Descriptive cross-sectional design.Methods: A convenience sample of 532 in-patient admitted at gynecology wards in a hospital wasrecruited. All study participants completed a set of questionnaires asking about personal characteristics,sexual factors, and history of being abused.Main findings: The prevalence of IPV among gynecology patients was about 21.1% divided intophysical (17.3%), sexual (11.5%), and emotional abuse (13.2%). Compared to non-abused gynecologypatients, abused gynecology patients were more likely to be separated (38.4%), remarried (52.7%), loweducated (53.6%), unemployed/students (19.6%), laborers (67%), to have income less than 10,000 baht/month (63.4%), to have insufficient economy (33%), in debt (35.7%), and to have marital conflict(47.3%) at statistical significance (p < .05). They were also significantly more likely to have alcohol abuse(35.7%), smoking (15.2%), drug abuse (7.1%), and gambling (14.3%) than non-abused gynecologypatients (p < .05).For sexual factors, abused gynecology patients were more likely to have early sexual intercourse at the age lower or equal to 18 years old, multiple partners, a high number of pregnancy, delivery, andabortion than non-abused gynecology patients at statistical significance (p < .05). Significantly, theywere also more likely to have sexually transmitted infections (58.9%), vaginal douchings (49.1%),emergency pills (17%), and forced sexual intercourses by oral (9.8%), anal (8%), or during menstruation(32.1%) than non-abused gynecology patients (p < .05).Conclusion and recommendations: Health care professionals should screen IPV and assessfactors related to IPV among gynecology patients. The effective practice guideline to prevent IPV shouldbe available for implement in case of the incidence of IPV or related factors being found. โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนวิจัยจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2018-05-01T12:36:35Z 2018-05-01T12:36:35Z 2561-05-01 2556 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 3 ( ก.ค. - ก.ย. 2556), 37-47 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/11197 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf