วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก
วัตถุประสงค์: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม ประเมินวิธีการและวัสดุที่ใช้ในการแยกเหงือก ข้อดีข้อเสียของวิธีการและวัสดุ วิธีการแยกเหงือกมี 4 วิธี วิธีแรกคือ วิธีการเชิงกลซึ่งเกี่ยวข้องกับการดันเนื้อเยื่อเหงือกด้วยแรงกายภาพโดยวัสดุแยกเหงือกที่ใส่ร่องเหงือก วัสดุที่ใช้มีหลายชนิดเช่นแผ่นย...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1136 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.1136 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.11362023-04-12T15:23:31Z วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก Techniques and materials used for gingival retraction. อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ Amornrat Wonglamsam เสาวลักษณ์ แสงจันทร์ Saowalax Sangchan ชัชรี สุชาติล้ำพงศ์ Chatcharee Suchatlampong อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ Amornrat Wonglamsam มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์ การแยกเหงือก วิธีการเชิงกล วิธีการเชิงกลร่วมกับสารเคมี การขูดเหงือกโดยใช้เครื่องกรอ ศัลยกรรมไฟฟ้า Gingival retraction Mechanical method Mechanico-chemical method Gingival curettage Electrosurgery Open Access article วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล Mahidol Dental Journal วัตถุประสงค์: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม ประเมินวิธีการและวัสดุที่ใช้ในการแยกเหงือก ข้อดีข้อเสียของวิธีการและวัสดุ วิธีการแยกเหงือกมี 4 วิธี วิธีแรกคือ วิธีการเชิงกลซึ่งเกี่ยวข้องกับการดันเนื้อเยื่อเหงือกด้วยแรงกายภาพโดยวัสดุแยกเหงือกที่ใส่ร่องเหงือก วัสดุที่ใช้มีหลายชนิดเช่นแผ่นยางกันน้ำลาย เส้นเชือก แถบรัด และวัสดุพิมพ์ปากอิลาสโตเมอร์ ข้อเสียของวิธีนี้คืออาจทำให้เหงือกร่น เหงือกเป็นแผล วิธีที่สองคือวธีการเชิงกลร่วมกับสารเคมี เป็นการใช้เชือกแยกเหงือกชุบสารเคมี สารเคมีที่ใช้ได้แก่ อีฟิเนฟริน กลุ่มยาฝาดสมาน กลุ่มเอมีน หรือใช้หลายชนิดปนกัน ข้อดีของวิธีนี้คือ สารเคมีช่วยห้ามเลือดได วิธีที่สามคือการขูดเหงือกโดยการกรอขอบเหงือกอิสระออกบางส่วนเพื่อให้ร่องเหงือกกว้างขึ้น ข้อเสียคือมีเลือดออก วิธีสุดท้ายคือศัลยกรรมไฟฟ้าเหมาะกับกรณีเหงือกอักเสบ สามารถกำจัดเนื้อเยื่ออักเสบและควบคุมการเกิดเลือดออก ข้อเสียคือ เหงือกร่นหรือกระดูกละลายตัว โดยสรุปแล้วการเลือกใช้วิธีการและวัสดุในการแยกเหงือกขึ้นกับหลายปัจจัยเช่น ตำแหน่งขอบฟันหลักที่กรอ จำนวนฟันหลักที่ต้องแยกเหงือก โรคทางระบบของผู้ป่วยและสภาวะของเหงือกโดยรอบ Objective: The objectives of this article are to review and evaluate the materials and methods used for gingival retraction procedure. The advantages and disadvantages of the methods and materials are described. There are 4 methods commonly used for gingival retraction. Firstly, the mechanical method involves physical displacement of the gingival tissue by placement of retraction materials within the gingival sulcus. Varieties of materials such as a rubber dam sheath, a cord, a copper band and elastomeric impression material are used as retraction materials. This method may cause gingival recession or gingival soreness. Secondly, the mechanico-chemical method, which is commonly used as gingival retraction cord saturated with chemical agent such as epinephrine, astringent or amine solution. The major advantage of these chemical agents is their excellent bleeding control ability. Thirdly, rotary gingival curettage method eliminates some marginal gingival tissue for enlargement of the gingival sulcus. This method can cause more bleeding than other methods. Fourthly, electrosurgery is the last method used for retracting the inflamed gingival. This technique could be used for removal of inflamed tissue and control hemorrhage during the procedure. Gingival recession or bone resorption may occur after the surgery. In conclusion, the selection of an appropriate method and material for gingival retraction depends on several factors such as location of the finishing line of the abutment margin, numbers of teeth that have to perform gingival retraction, patientûs systemic disease, or status of the surrounding gingiva. 2015-03-26T09:37:14Z 2017-01-05T08:30:17Z 2015-03-26T09:37:14Z 2017-01-05T08:30:17Z 2015-02-23 2012-01 Article อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ, เสาวลักษณ์ แสงจันทร์, ชัชรี สุชาติล้ำพงศ์. วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก. ว ทันต มหิดล. 2555; 32(1-2): 51-63. 0125-5614 (printed) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1136 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การแยกเหงือก วิธีการเชิงกล วิธีการเชิงกลร่วมกับสารเคมี การขูดเหงือกโดยใช้เครื่องกรอ ศัลยกรรมไฟฟ้า Gingival retraction Mechanical method Mechanico-chemical method Gingival curettage Electrosurgery Open Access article วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล Mahidol Dental Journal |
spellingShingle |
การแยกเหงือก วิธีการเชิงกล วิธีการเชิงกลร่วมกับสารเคมี การขูดเหงือกโดยใช้เครื่องกรอ ศัลยกรรมไฟฟ้า Gingival retraction Mechanical method Mechanico-chemical method Gingival curettage Electrosurgery Open Access article วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล Mahidol Dental Journal อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ Amornrat Wonglamsam เสาวลักษณ์ แสงจันทร์ Saowalax Sangchan ชัชรี สุชาติล้ำพงศ์ Chatcharee Suchatlampong วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก |
description |
วัตถุประสงค์: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม ประเมินวิธีการและวัสดุที่ใช้ในการแยกเหงือก ข้อดีข้อเสียของวิธีการและวัสดุ วิธีการแยกเหงือกมี 4 วิธี วิธีแรกคือ วิธีการเชิงกลซึ่งเกี่ยวข้องกับการดันเนื้อเยื่อเหงือกด้วยแรงกายภาพโดยวัสดุแยกเหงือกที่ใส่ร่องเหงือก วัสดุที่ใช้มีหลายชนิดเช่นแผ่นยางกันน้ำลาย เส้นเชือก แถบรัด และวัสดุพิมพ์ปากอิลาสโตเมอร์ ข้อเสียของวิธีนี้คืออาจทำให้เหงือกร่น เหงือกเป็นแผล วิธีที่สองคือวธีการเชิงกลร่วมกับสารเคมี เป็นการใช้เชือกแยกเหงือกชุบสารเคมี สารเคมีที่ใช้ได้แก่ อีฟิเนฟริน กลุ่มยาฝาดสมาน กลุ่มเอมีน หรือใช้หลายชนิดปนกัน ข้อดีของวิธีนี้คือ สารเคมีช่วยห้ามเลือดได วิธีที่สามคือการขูดเหงือกโดยการกรอขอบเหงือกอิสระออกบางส่วนเพื่อให้ร่องเหงือกกว้างขึ้น ข้อเสียคือมีเลือดออก วิธีสุดท้ายคือศัลยกรรมไฟฟ้าเหมาะกับกรณีเหงือกอักเสบ สามารถกำจัดเนื้อเยื่ออักเสบและควบคุมการเกิดเลือดออก ข้อเสียคือ เหงือกร่นหรือกระดูกละลายตัว โดยสรุปแล้วการเลือกใช้วิธีการและวัสดุในการแยกเหงือกขึ้นกับหลายปัจจัยเช่น ตำแหน่งขอบฟันหลักที่กรอ จำนวนฟันหลักที่ต้องแยกเหงือก โรคทางระบบของผู้ป่วยและสภาวะของเหงือกโดยรอบ |
author2 |
อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ |
author_facet |
อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ Amornrat Wonglamsam เสาวลักษณ์ แสงจันทร์ Saowalax Sangchan ชัชรี สุชาติล้ำพงศ์ Chatcharee Suchatlampong |
format |
Article |
author |
อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ Amornrat Wonglamsam เสาวลักษณ์ แสงจันทร์ Saowalax Sangchan ชัชรี สุชาติล้ำพงศ์ Chatcharee Suchatlampong |
author_sort |
อมรรัตน์ วงค์ล่ำซำ |
title |
วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก |
title_short |
วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก |
title_full |
วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก |
title_fullStr |
วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก |
title_full_unstemmed |
วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก |
title_sort |
วิธีการและวัสดุใช้แยกเหงือก |
publishDate |
2015 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1136 |
_version_ |
1781413768839823360 |