Educational Outcomes of Tutoring: A Meta-analysis of Findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย

การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis) จากผลการวิจัยการประเมินผลโปรแกรมการติวในโรงเรียนอย่างอิสระจำนวน 65 โปรแกรมแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมเหล่านี้มีผลกระทบทางบวกกับผลการเรียนทางด้านวิชาการ และทัศนคติของนักเรียนผู้ถูกติว นักเรียนที่ได้รับการติวจะประสบความสำเร็จในการสอบดีกว่า(outperform)นักเรียนกลุ่มควบคุม(c...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วิไลรัตน์ ศรีคำ
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา
Format: Article
Language:Thai
Published: 2017
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1350
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.1350
record_format dspace
spelling th-mahidol.13502023-04-12T15:19:56Z Educational Outcomes of Tutoring: A Meta-analysis of Findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย วิไลรัตน์ ศรีคำ มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา Peter A. Cohen Chen-Lin C. Kulik. American Educational James A. Kulk meta-analysis การติว การวิเคราะห์อภิมาน Open Access article วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis) จากผลการวิจัยการประเมินผลโปรแกรมการติวในโรงเรียนอย่างอิสระจำนวน 65 โปรแกรมแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมเหล่านี้มีผลกระทบทางบวกกับผลการเรียนทางด้านวิชาการ และทัศนคติของนักเรียนผู้ถูกติว นักเรียนที่ได้รับการติวจะประสบความสำเร็จในการสอบดีกว่า(outperform)นักเรียนกลุ่มควบคุม(control students) และนักเรียนที่ถูกติว สามารถพัฒนาทัศนคติที่มีต่อเนื้อหาสาระที่ครอบคลุมในโปรแกรมการติวไปในทางบวกอีกด้วย การวิเคราะห์อภิมานยังแสดงให้เห็นอีกว่า โปรแกรมการติวมีผลกระทบทางบวกกับนักเรียนที่ทำหน้าที่เป็นผู้ติว เช่นเดียวกับนักเรียนที่ได้รับการติว ผู้ติวก็ได้รับความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวดีขึ้นและพัฒนาทัศนคติที่มีต่อเนื้อหาสาระที่ครอบคลุมในโปรแกรมการติวไปในทางบวกเพิ่มมากขึ้น การมีส่วนร่วมในโปรแกรมการติวมีผลกระทบเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีผลกระทบเลยกับการเคารพตนเอง(self-esteem)ในการเป็นผู้ติวหรือผู้ถูกติว โปรแกรมการติวในโรงเรียนประถมและโรงเรียนมัธยมหลายแห่งในปัจจุบัน แตกต่างจากโปรแกรมการติวในอดีต โปรแกรมการติวสมัยใหม่นี้ นักเรียนจะถูกติวโดยเพื่อนรุ่นเดียวกัน(peers) หรือบุคคลที่ใกล้จะเป็นมืออาชีพ(paraprofessionals) มากกว่าครูประจำการในโรงเรียนหรือผู้ติวมืออาชีพ(professionaltutors) การใช้เพื่อนรุ่นเดียวกัน(peers)และบุคคลที่ใกล้จะเป็นมืออาชีพส่งผลอย่างใหญ่หลวงต่อการจัดโปรแกรมการติว ไม่มีโปรแกรมการติวใดๆ ที่จัดไว้ให้เฉพาะสำหรับลูกคนมีเงินชั้นสูงต่อไปอีกแล้ว ดังนั้น โปรแกรมการติวในปัจจุบันจึงเปิดโอกาสให้กับทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิงในห้องเรียนธรรมดาทั่วประเทศเหมือนกันทั้งหมด ครูและนักวิจัยเป็นจำนวนมากได้เขียนรายงานเกี่ยวกับผลกระทบของโปรแกรมเช่นนี้ ที่มีต่อนักเรียน ถึงแม้ว่าบางรายงานจะอยู่บนพื้นฐานของความชื่นชอบเป็นการส่วนตัว (subjective impressions) และการสังเกตที่ไม่เป็นทางการ ที่มีคุณค่าและมีขอบเขตในการดำเนินการที่เป็นระบบก็ตาม(limited scientific value) แต่ก็มีรายงานอื่นๆอีกหลายรายงานที่ได้พรรณนาผลการศึกษาโดยการทดลองเชิงปฏิบัติการ(experimental studies)เกี่ยวกับการติว ในการศึกษาเช่นนี้ โดยปกติแล้ว ผู้วิจัยจะเปรียบเทียบผลการเรียนของกลุ่มนักเรียนที่มีความสามารถเท่าเทียมกันระหว่างกลุ่มที่ถูกติว กับกลุ่มที่ไม่ถูกติวการเปรียบเทียบจะมุ่งเน้นไปที่การได้รับการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้นใน 2 แบบ คือห้องเรียนที่ถูกติวกับห้องเรียนที่ไม่ถูกติว และบางครั้งก็ครอบคลุมไปถึงพัฒนาการที่เพิ่มขึ้นอย่างมีประสิทธิผลของนักเรียนที่ถูกติวกับนักเรียนที่ไม่ถูกติวเป็นต้น 2017-03-09T07:54:14Z 2017-03-09T07:54:14Z 2560-03-09 2556 Article วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 9, ฉบับที่ 12 (2556), 88-100 1686-6959 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1350 tha มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic Peter A. Cohen
Chen-Lin C. Kulik.
American Educational
James A. Kulk
meta-analysis
การติว
การวิเคราะห์อภิมาน
Open Access article
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
spellingShingle Peter A. Cohen
Chen-Lin C. Kulik.
American Educational
James A. Kulk
meta-analysis
การติว
การวิเคราะห์อภิมาน
Open Access article
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
วิไลรัตน์ ศรีคำ
Educational Outcomes of Tutoring: A Meta-analysis of Findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย
description การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis) จากผลการวิจัยการประเมินผลโปรแกรมการติวในโรงเรียนอย่างอิสระจำนวน 65 โปรแกรมแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมเหล่านี้มีผลกระทบทางบวกกับผลการเรียนทางด้านวิชาการ และทัศนคติของนักเรียนผู้ถูกติว นักเรียนที่ได้รับการติวจะประสบความสำเร็จในการสอบดีกว่า(outperform)นักเรียนกลุ่มควบคุม(control students) และนักเรียนที่ถูกติว สามารถพัฒนาทัศนคติที่มีต่อเนื้อหาสาระที่ครอบคลุมในโปรแกรมการติวไปในทางบวกอีกด้วย การวิเคราะห์อภิมานยังแสดงให้เห็นอีกว่า โปรแกรมการติวมีผลกระทบทางบวกกับนักเรียนที่ทำหน้าที่เป็นผู้ติว เช่นเดียวกับนักเรียนที่ได้รับการติว ผู้ติวก็ได้รับความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวดีขึ้นและพัฒนาทัศนคติที่มีต่อเนื้อหาสาระที่ครอบคลุมในโปรแกรมการติวไปในทางบวกเพิ่มมากขึ้น การมีส่วนร่วมในโปรแกรมการติวมีผลกระทบเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีผลกระทบเลยกับการเคารพตนเอง(self-esteem)ในการเป็นผู้ติวหรือผู้ถูกติว โปรแกรมการติวในโรงเรียนประถมและโรงเรียนมัธยมหลายแห่งในปัจจุบัน แตกต่างจากโปรแกรมการติวในอดีต โปรแกรมการติวสมัยใหม่นี้ นักเรียนจะถูกติวโดยเพื่อนรุ่นเดียวกัน(peers) หรือบุคคลที่ใกล้จะเป็นมืออาชีพ(paraprofessionals) มากกว่าครูประจำการในโรงเรียนหรือผู้ติวมืออาชีพ(professionaltutors) การใช้เพื่อนรุ่นเดียวกัน(peers)และบุคคลที่ใกล้จะเป็นมืออาชีพส่งผลอย่างใหญ่หลวงต่อการจัดโปรแกรมการติว ไม่มีโปรแกรมการติวใดๆ ที่จัดไว้ให้เฉพาะสำหรับลูกคนมีเงินชั้นสูงต่อไปอีกแล้ว ดังนั้น โปรแกรมการติวในปัจจุบันจึงเปิดโอกาสให้กับทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิงในห้องเรียนธรรมดาทั่วประเทศเหมือนกันทั้งหมด ครูและนักวิจัยเป็นจำนวนมากได้เขียนรายงานเกี่ยวกับผลกระทบของโปรแกรมเช่นนี้ ที่มีต่อนักเรียน ถึงแม้ว่าบางรายงานจะอยู่บนพื้นฐานของความชื่นชอบเป็นการส่วนตัว (subjective impressions) และการสังเกตที่ไม่เป็นทางการ ที่มีคุณค่าและมีขอบเขตในการดำเนินการที่เป็นระบบก็ตาม(limited scientific value) แต่ก็มีรายงานอื่นๆอีกหลายรายงานที่ได้พรรณนาผลการศึกษาโดยการทดลองเชิงปฏิบัติการ(experimental studies)เกี่ยวกับการติว ในการศึกษาเช่นนี้ โดยปกติแล้ว ผู้วิจัยจะเปรียบเทียบผลการเรียนของกลุ่มนักเรียนที่มีความสามารถเท่าเทียมกันระหว่างกลุ่มที่ถูกติว กับกลุ่มที่ไม่ถูกติวการเปรียบเทียบจะมุ่งเน้นไปที่การได้รับการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้นใน 2 แบบ คือห้องเรียนที่ถูกติวกับห้องเรียนที่ไม่ถูกติว และบางครั้งก็ครอบคลุมไปถึงพัฒนาการที่เพิ่มขึ้นอย่างมีประสิทธิผลของนักเรียนที่ถูกติวกับนักเรียนที่ไม่ถูกติวเป็นต้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา
วิไลรัตน์ ศรีคำ
format Article
author วิไลรัตน์ ศรีคำ
author_sort วิไลรัตน์ ศรีคำ
title Educational Outcomes of Tutoring: A Meta-analysis of Findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย
title_short Educational Outcomes of Tutoring: A Meta-analysis of Findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย
title_full Educational Outcomes of Tutoring: A Meta-analysis of Findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย
title_fullStr Educational Outcomes of Tutoring: A Meta-analysis of Findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย
title_full_unstemmed Educational Outcomes of Tutoring: A Meta-analysis of Findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย
title_sort educational outcomes of tutoring: a meta-analysis of findings ผลลัพธ์ทางการศึกษาของการติว : การวิเคราะห์อภิมานจากผลการวิจัย
publishDate 2017
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1350
_version_ 1781414355081887744