การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม
กุ้งมีความสามารถในการรับความเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในน้ำได้โดยใช้อวัยวะรับกลิ่นเฉพาะ ดังนั้นในกรณีที่มีการปนเปื้อนของกลิ่นลงไปในอาหารก็อาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดผลกระทบต่อปริมาณการกินได้ของกุ้งได้ ด้วยเหตุนี้งานวิจัยชิ้นนี้จึงเกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการกินได้ และก...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1649 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.1649 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.16492023-04-12T15:24:26Z การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม An investigation of odor contaminated in Litopenaeus vannamei’s feed พัฒนพล ขยันสำรวจ ทศวัฒน์ พุทธจักร พรรษประภา จันทร์ดี สิรินทรา ศิริวิสูตร วรรณา ศิริมานะพงษ์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์ กุ้งขาวแวนนาไม ปริมาณการกิน กลิ่นปนเปื้อน Litopenaeus vannamei Appetizing behavior Odor contaminated feed Open Access article กุ้งมีความสามารถในการรับความเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในน้ำได้โดยใช้อวัยวะรับกลิ่นเฉพาะ ดังนั้นในกรณีที่มีการปนเปื้อนของกลิ่นลงไปในอาหารก็อาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดผลกระทบต่อปริมาณการกินได้ของกุ้งได้ ด้วยเหตุนี้งานวิจัยชิ้นนี้จึงเกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการกินได้ และกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหาร (กลิ่นบุหรี่ และกลิ่นน้ำยาล้างจาน)โดยทำการทดลองในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei)จากผลการทดลองพบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในปริมาณการกินได้ระหว่างกุ้งกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติกับกลุ่มที่ได้รับอาหารที่มีกลิ่นปนเปื้อน การทดลองนี้จึงไม่สามารถสรุปได้ว่ากลิ่นมีผลต่อปริมาณการกินได้ของกุ้งหรือไม่ เนื่องจากความเข้มข้นของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารอาจเจือจางเกินไปจนกุ้งไม่สามารถรับรู้ถึงความแตกต่างได้ Shrimp have a special sensory organ for detecting a molecular chemical changes in the marine environment called ‘attenules’. Contaminating of odor into feed might cause an alteration of their appetizing behavior. This study has been carried out in order to detect an affiliation in odor contaminated feed (cigarette and washing detergent) and appetizing behaviors of Litopenaeus vannamei. The findings showed no significant differences between the control feed and the odor treated feed. However, the experiment was unable to conclude whether odor contaminated feed might play a role in affecting the appetites of Litopenaeus vannamei or not. The concentrations of odor may have been so few that the shrimp could not sense the difference. 2011-06-17T08:21:44Z 2011-12-09T08:15:11Z 2017-04-07T11:55:45Z 2011-06-17T08:21:44Z 2011-12-09T08:15:11Z 2017-04-07T11:55:45Z 2553-04-01 2552 Article Journal of Application Animal Science. ปีที่ 2, ฉบับที่ 1-2 (ม.ค.-ส.ค. 2552), 27-31 1906-2257 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1649 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
กุ้งขาวแวนนาไม ปริมาณการกิน กลิ่นปนเปื้อน Litopenaeus vannamei Appetizing behavior Odor contaminated feed Open Access article |
spellingShingle |
กุ้งขาวแวนนาไม ปริมาณการกิน กลิ่นปนเปื้อน Litopenaeus vannamei Appetizing behavior Odor contaminated feed Open Access article พัฒนพล ขยันสำรวจ ทศวัฒน์ พุทธจักร พรรษประภา จันทร์ดี สิรินทรา ศิริวิสูตร วรรณา ศิริมานะพงษ์ การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม |
description |
กุ้งมีความสามารถในการรับความเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในน้ำได้โดยใช้อวัยวะรับกลิ่นเฉพาะ ดังนั้นในกรณีที่มีการปนเปื้อนของกลิ่นลงไปในอาหารก็อาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดผลกระทบต่อปริมาณการกินได้ของกุ้งได้ ด้วยเหตุนี้งานวิจัยชิ้นนี้จึงเกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการกินได้ และกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหาร (กลิ่นบุหรี่ และกลิ่นน้ำยาล้างจาน)โดยทำการทดลองในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei)จากผลการทดลองพบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในปริมาณการกินได้ระหว่างกุ้งกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติกับกลุ่มที่ได้รับอาหารที่มีกลิ่นปนเปื้อน การทดลองนี้จึงไม่สามารถสรุปได้ว่ากลิ่นมีผลต่อปริมาณการกินได้ของกุ้งหรือไม่ เนื่องจากความเข้มข้นของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารอาจเจือจางเกินไปจนกุ้งไม่สามารถรับรู้ถึงความแตกต่างได้ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์ พัฒนพล ขยันสำรวจ ทศวัฒน์ พุทธจักร พรรษประภา จันทร์ดี สิรินทรา ศิริวิสูตร วรรณา ศิริมานะพงษ์ |
format |
Article |
author |
พัฒนพล ขยันสำรวจ ทศวัฒน์ พุทธจักร พรรษประภา จันทร์ดี สิรินทรา ศิริวิสูตร วรรณา ศิริมานะพงษ์ |
author_sort |
พัฒนพล ขยันสำรวจ |
title |
การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม |
title_short |
การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม |
title_full |
การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม |
title_fullStr |
การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม |
title_full_unstemmed |
การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม |
title_sort |
การศึกษาผลของกลิ่นที่ปนเปื้อนในอาหารที่มีผลต่อการกินได้ของกุ้งขาวแวนนาไม |
publishDate |
2011 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1649 |
_version_ |
1781414504532279296 |