การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช
บทนำ: แพคลิแท็กเซิล (Paclitaxel) เป็นสูตรยาเคมีบำบัดพื้นฐานที่นิยมใช้ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชแต่อาจเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำได้ในการให้ยารอบที่ 1 หรือรอบที่ 2 ภายในไม่กี่นาทีหลังเริ่มให้ยาดังนั้นก่อนให้ยาแพคลิแท็กเซิลผู้ป่วยต้องได้รับยาป้องกันอาการแพ้สารละ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19941 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.19941 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
Open Access article อาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือด รอบที่ 3 แพคลิแท็กเซิล มะเร็งนรีเวช วารสารรามาธิบดีเวชสาร Ramathibodi Medical Journal (RMJ) |
spellingShingle |
Open Access article อาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือด รอบที่ 3 แพคลิแท็กเซิล มะเร็งนรีเวช วารสารรามาธิบดีเวชสาร Ramathibodi Medical Journal (RMJ) รัชดาพันธ์ ชัยโตษะ Rachadapan Chaitosa วรพรรณ คำอยู่ Worapun Kumyoo กฤษดา ไพรวัฒนานุพันธ์ Krissada Paiwattananupant การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช |
description |
บทนำ: แพคลิแท็กเซิล (Paclitaxel) เป็นสูตรยาเคมีบำบัดพื้นฐานที่นิยมใช้ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชแต่อาจเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำได้ในการให้ยารอบที่ 1 หรือรอบที่ 2 ภายในไม่กี่นาทีหลังเริ่มให้ยาดังนั้นก่อนให้ยาแพคลิแท็กเซิลผู้ป่วยต้องได้รับยาป้องกันอาการแพ้สารละลายตามแนวทางมาตรฐาน
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำครั้งแรกที่เกิดขึ้นภายหลังการรับยารอบที่ 3 โดยไม่พบการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำในการรับยารอบที่ 1 - 2 วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบแรกเป็นต้นไป ระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และเกิดอาการไม่พึงประสงค์
ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำขณะรับยาแพคลิแท็กเซิล จากนั้นประเมินระดับความรุนแรงของอาการไม่พึงประสงค์โดยใช้เกณฑ์ของ National Cancer Institute Terminology Criteria for Adverse Event (CTCAE) version 4.03 ผลการศึกษา: จากผู้ป่วยจำนวน 84 คนที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลพบว่ามีผู้ป่วย 8 คน คิดเป็นร้อยละ 9.5 ที่มีอาการแพ้เกิดขึ้นหลังได้รับยาแพคลิแท็กเซิลรอบที่ 3ไปแล้วแบ่งเป็นความรุนแรงระดับ 1 จำนวน 3 ครั้ง ความรุนแรงระดับ 2 จำนวน 5 ครั้ง และความรุนแรงระดับ 3 จำนวน 2 ครั้ง สรุป: การศึกษานี้พบผู้ป่วยที่เกิดอาการอันไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำขณะรับยาแพคลิแท็กเซิล โดยมีอาการแพ้เกิดขึ้นหลังได้รับยาแพคลิแท็กเซิลรอบที่ 3 และหลังจากนั้นคิดเป็นร้อยละ 9.5 |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา รัชดาพันธ์ ชัยโตษะ Rachadapan Chaitosa วรพรรณ คำอยู่ Worapun Kumyoo กฤษดา ไพรวัฒนานุพันธ์ Krissada Paiwattananupant |
format |
Article |
author |
รัชดาพันธ์ ชัยโตษะ Rachadapan Chaitosa วรพรรณ คำอยู่ Worapun Kumyoo กฤษดา ไพรวัฒนานุพันธ์ Krissada Paiwattananupant |
author_sort |
รัชดาพันธ์ ชัยโตษะ |
title |
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช |
title_short |
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช |
title_full |
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช |
title_fullStr |
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช |
title_full_unstemmed |
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช |
title_sort |
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19941 |
_version_ |
1763496033182023680 |
spelling |
th-mahidol.199412023-03-30T14:01:15Z การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำที่เกิดขึ้นขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบที่ 3 ขึ้นไปในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช Infusion Hypersensitivity Reactions Occurring Beyond the Third Cycle of Paclitaxel in Gynecologic Cancer Patients รัชดาพันธ์ ชัยโตษะ Rachadapan Chaitosa วรพรรณ คำอยู่ Worapun Kumyoo กฤษดา ไพรวัฒนานุพันธ์ Krissada Paiwattananupant มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา Open Access article อาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือด รอบที่ 3 แพคลิแท็กเซิล มะเร็งนรีเวช วารสารรามาธิบดีเวชสาร Ramathibodi Medical Journal (RMJ) บทนำ: แพคลิแท็กเซิล (Paclitaxel) เป็นสูตรยาเคมีบำบัดพื้นฐานที่นิยมใช้ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชแต่อาจเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำได้ในการให้ยารอบที่ 1 หรือรอบที่ 2 ภายในไม่กี่นาทีหลังเริ่มให้ยาดังนั้นก่อนให้ยาแพคลิแท็กเซิลผู้ป่วยต้องได้รับยาป้องกันอาการแพ้สารละลายตามแนวทางมาตรฐาน วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำครั้งแรกที่เกิดขึ้นภายหลังการรับยารอบที่ 3 โดยไม่พบการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำในการรับยารอบที่ 1 - 2 วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาแพคลิแท็กเซิลตั้งแต่รอบแรกเป็นต้นไป ระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และเกิดอาการไม่พึงประสงค์ ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำขณะรับยาแพคลิแท็กเซิล จากนั้นประเมินระดับความรุนแรงของอาการไม่พึงประสงค์โดยใช้เกณฑ์ของ National Cancer Institute Terminology Criteria for Adverse Event (CTCAE) version 4.03 ผลการศึกษา: จากผู้ป่วยจำนวน 84 คนที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำขณะรับยาแพคลิแท็กเซิลพบว่ามีผู้ป่วย 8 คน คิดเป็นร้อยละ 9.5 ที่มีอาการแพ้เกิดขึ้นหลังได้รับยาแพคลิแท็กเซิลรอบที่ 3ไปแล้วแบ่งเป็นความรุนแรงระดับ 1 จำนวน 3 ครั้ง ความรุนแรงระดับ 2 จำนวน 5 ครั้ง และความรุนแรงระดับ 3 จำนวน 2 ครั้ง สรุป: การศึกษานี้พบผู้ป่วยที่เกิดอาการอันไม่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำขณะรับยาแพคลิแท็กเซิล โดยมีอาการแพ้เกิดขึ้นหลังได้รับยาแพคลิแท็กเซิลรอบที่ 3 และหลังจากนั้นคิดเป็นร้อยละ 9.5 Background: Paclitaxel is widely used in standard protocol treatment of patient with gynecologic cancer. Although it is generally well tolerated, infusion hypersensitivity reactions during the first and second cycle had been reported. The reactions occur within few minutes after starting the infusion of the drug. To prevent such adverse effect, all patients receive premedication prior to infusion. Objective: To study the infusion hypersensitivity reactions of paclitaxel occurred beyond the third cycle of the drug among patients who did not experience the adverse effect in the previous two cycles. Methods: Medical records of gynecologic cancer patients who received paclitaxel chemotherapy during January, 2013, to December, 2015, were retrospectively reviewed. The patients were treated in Department of Gynecology Oncology, Ramathibodi Hospital. The infusion hypersensitivity reactions of paclitaxel was assessed according to the National Cancer Institute Terminology Criteria for Adverse Event (CTCAE) version 4.03. Results: There were 84 patients who met the inclusion criteria of infusion hypersensitivity reactions after paclitaxel injection. Eighty cases were classified as having mild reaction, and 4 cases had severe anaphylactoid reactions. Among the 84 cases, 8 (9.5%) had infusion hypersensitivity reactions occurred beyond the third cycle which were classified to grade 1, 3 times; grade 2, 5 times; and grade 3, 2 times. Paclitaxel was successfully administered in all patients after receiving additional antihistamine and dexamethasone. Conclusions: Among patients who experience the adverse effect after paclitaxel injection, the infusion hypersensitivity reactions occurred beyond the third cycle in 9.5%. 2018-07-13T07:14:01Z 2018-07-13T07:14:01Z 2561-06 2559 Article วารสารรามาธิบดีเวชสาร . ปีที่ 41, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค 2561), 11-17 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19941 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |