ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา

วัตถุประสงค์: ศึกษาพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคม สถานภาพทางการเงิน พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา รูปแบบการวิจัย:การศึกษาความสัมพันธ์เชิงพรรณนา วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่ได้รับวินิจฉัยเป็น...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, Kanaungnit Pongthavornkamol, พิจิตรา เล็กดํารงกุล, Pichitra Lekdamrongkul, พรพรรณ วนวโรดม, Pornpun Wanawarodom, วันทกานต์ ราชวงศ์, Wontakarn Ratchawong
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19952
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.19952
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การสนับสนุนทางสังคม
สถานภาพทางการเงิน
พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
คุณภาพชีวิต
มะเร็งเต้านม
วารสารพยาบาลศาสตร์
The Journal of Nursing Science
Open Access article
spellingShingle การสนับสนุนทางสังคม
สถานภาพทางการเงิน
พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
คุณภาพชีวิต
มะเร็งเต้านม
วารสารพยาบาลศาสตร์
The Journal of Nursing Science
Open Access article
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
พิจิตรา เล็กดํารงกุล
Pichitra Lekdamrongkul
พรพรรณ วนวโรดม
Pornpun Wanawarodom
วันทกานต์ ราชวงศ์
Wontakarn Ratchawong
ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา
description วัตถุประสงค์: ศึกษาพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคม สถานภาพทางการเงิน พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา รูปแบบการวิจัย:การศึกษาความสัมพันธ์เชิงพรรณนา วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่ได้รับวินิจฉัยเป็นมะเร็งเต้านมที่มารับการรักษา ณ หน่วยรังสีรักษาของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ จํานวน 88 ราย ใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก รวบรวมข้อมูลโดยใช้1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบวัดการรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคมพหุมิติ 3) แบบวัดพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและ 4) แบบวัดคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เพียร์สันและค่าสหสัมพันธ์สเพียร์แมน ผลการวิจัย: คะแนนพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยรวมของกลุ่มตัวอย่างสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษามีค่าเฉลี่ยค่อนข้างต่ํา (X = 141.77, SD = 21.12) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างการรักษาด้วยเคมีบําบัดในการศึกษาที่ผ่านมา (X = 164.40, SD = 20.9) คุณภาพชีวิตโดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (r = .47, p < .01) การสนับสนุนทางสังคม (r = .46, p < .01) และสถานภาพทางการเงิน (r = .36, p < .01) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการสนับสนุนทางสังคม (r = .50, p < .01) แต่ไม่สัมพันธ์กับสถานภาพทางทางการเงิน สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และแหล่งสนับสนุนทางสังคมของสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา ในกลุ่มผู้ป่วยสถานภาพทางการเงินไม่ดีควรพิจารณาประเมินคุณภาพชีวิตด้วยเพื่อนําไปสู่การวางแผนการพยาบาลที่ส่งเสริมภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
พิจิตรา เล็กดํารงกุล
Pichitra Lekdamrongkul
พรพรรณ วนวโรดม
Pornpun Wanawarodom
วันทกานต์ ราชวงศ์
Wontakarn Ratchawong
format Article
author คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
พิจิตรา เล็กดํารงกุล
Pichitra Lekdamrongkul
พรพรรณ วนวโรดม
Pornpun Wanawarodom
วันทกานต์ ราชวงศ์
Wontakarn Ratchawong
author_sort คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
title ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19952
_version_ 1764209726937104384
spelling th-mahidol.199522023-03-31T10:19:26Z ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมสถานภาพทางการเงินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา Relationships between Social Support, Financial Status, Health-Promoting Behaviors, and Quality of Life among Women with Breast Cancer undergoing Radiation Treatment คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล Kanaungnit Pongthavornkamol พิจิตรา เล็กดํารงกุล Pichitra Lekdamrongkul พรพรรณ วนวโรดม Pornpun Wanawarodom วันทกานต์ ราชวงศ์ Wontakarn Ratchawong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล การสนับสนุนทางสังคม สถานภาพทางการเงิน พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพชีวิต มะเร็งเต้านม วารสารพยาบาลศาสตร์ The Journal of Nursing Science Open Access article วัตถุประสงค์: ศึกษาพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคม สถานภาพทางการเงิน พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา รูปแบบการวิจัย:การศึกษาความสัมพันธ์เชิงพรรณนา วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่ได้รับวินิจฉัยเป็นมะเร็งเต้านมที่มารับการรักษา ณ หน่วยรังสีรักษาของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ จํานวน 88 ราย ใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก รวบรวมข้อมูลโดยใช้1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบวัดการรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคมพหุมิติ 3) แบบวัดพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและ 4) แบบวัดคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เพียร์สันและค่าสหสัมพันธ์สเพียร์แมน ผลการวิจัย: คะแนนพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยรวมของกลุ่มตัวอย่างสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษามีค่าเฉลี่ยค่อนข้างต่ํา (X = 141.77, SD = 21.12) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างการรักษาด้วยเคมีบําบัดในการศึกษาที่ผ่านมา (X = 164.40, SD = 20.9) คุณภาพชีวิตโดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (r = .47, p < .01) การสนับสนุนทางสังคม (r = .46, p < .01) และสถานภาพทางการเงิน (r = .36, p < .01) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการสนับสนุนทางสังคม (r = .50, p < .01) แต่ไม่สัมพันธ์กับสถานภาพทางทางการเงิน สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และแหล่งสนับสนุนทางสังคมของสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา ในกลุ่มผู้ป่วยสถานภาพทางการเงินไม่ดีควรพิจารณาประเมินคุณภาพชีวิตด้วยเพื่อนําไปสู่การวางแผนการพยาบาลที่ส่งเสริมภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา Purpose: To study health-promoting behaviors and the relationships between social support,financial status, health-promoting behaviors, and quality of life among women with breast cancerundergoing radiation treatment.Design: Descriptive correlational research.Methods: The study sample consisted of 88 women diagnosed with breast cancer who werereceiving radiation therapy at radiation department of one university hospital in Bangkok. The subjectswere recruited by convenience sampling. Data were collected using 1) Personal and DemographicQuestionnaire, 2) the Multi-dimensional Scale of Perceived Social Support, 3) Health PromotionLifestyle Profile II, and 4) Functional Assessment of Cancer Therapy-Breast Scale (FACT-B). Data wereanalyzed using descriptive statistics, Pearson’s Moment Product correlation, and Spearman’s rankcorrelation.Main findings: Health-promoting behaviors scores of breast cancer women undergoing radiationtreatment were considered low (X = 141.77, SD = 21.12) when compared to those who receivedchemotherapy in a previous study (X = 164.40, SD = 20.9). Quality of life was positively correlated withhealth-promoting behaviors (r = .47, p < .01), social support (r = .46, p < .01) and financial status(r = .36, p < .01). Health-promoting behaviors were positively correlated with social support (r = .50,p < .01), but not correlated with financial status.Conclusion and recommendations: Nurses should assess health-promoting behaviors andsources of social support of women with breast cancer during radiation treatment. Quality of life shouldalso be assessed in those patients with low income in order to make nursing care plan for promotinghealth and quality of life in women with breast cancer during treatment. งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจาก China Medical Board of New York Inc. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2018-07-23T04:08:36Z 2018-07-23T04:08:36Z 2561-07-23 2557 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 32, ฉบับที่ 1 ( ม.ค. - มี.ค. 2557), 15-27 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/19952 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf