การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว
การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย ในการให้คำแนะนำการดูแลรักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว ในจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิและแม่ฮ่องสอน ในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริม สนั...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2017
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2013 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.2013 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
กลุ่มอาการภูมคุ้มกันเสื่อม การให้คำปรึกษา ผู้ป่วย การจัดการดูแล วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Open Access article Journal of Public Health and Development |
spellingShingle |
กลุ่มอาการภูมคุ้มกันเสื่อม การให้คำปรึกษา ผู้ป่วย การจัดการดูแล วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Open Access article Journal of Public Health and Development สมอาจ วงษ์ขมทอง บังอร เทพเทียน สมศักดิ์ วงศาวาส อารี คุ้มพิทักษ์ ศิริรัตน์ กาศิเษฎาพันธ์ การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว |
description |
การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย ในการให้คำแนะนำการดูแลรักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว ในจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิและแม่ฮ่องสอน ในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ ผู้ดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลรักษาในเบื้องต้น และการใช้ยาอย่างเหมาะสมแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว
ผลการสำรวจข้อมูลพื้นฐานจากแบบสอบถาม ได้ทำการสำรวจเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านจำนวน 281 ราย พบว่าเจ้าหน้าที่มีประสบการณ์ในการเยี่ยมบ้านประมาณ 3 ปี และร้อยละ 53 เคยที่มีประสบการณ์ในการเยี่ยมผู้ป่วยเอดส์ที่บ้านปัญหาและอุปสรรคเยี่ยมบ้านมีสาเหตุหลักๆ 2 ประการคือ ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชา
รวมทั้งตัวผู้ป่วยเอดส์ และครอบครัวที่ไม่ต้องการเปิดเผยตัว และสองคือเจ้าหน้าที่ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ที่ชัดเจน ขาดทักษะในการให้การดูแลและการเข้าถึงชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับการประเมินความรู้ ความเข้าใจและทักษะของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ที่พบว่าเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านส่วนใหญ่ยังขาดข้อมูลเกี่ยวกับเอดส์ที่ชัดเจน ถูกต้องและทันสมัย นอกจากนี้ยังพบว่าเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านยังมีทัศนคติต่อผู้ป่วยเอดส์และโรคเอดส์ว่าเป็นเรื่องของคนที่มีพฤติกรรมไม่ดี
การประเมินผลหลังจากการฝึกอบรม 3 เดือนพบว่า ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปปฏิบัติในการทำงานเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเอดส์ได้เป็นอย่างดี และช่วยพัฒนางานเยี่ยมบ้านให้ดีขึ้นเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านมีความมั่นใจในการปฏิบัติมากยิ่งขึ้นเจ้าหน้าที่มีแนวทางที่จะให้ข้อมูลกับผู้ป่วยเอดส์และครอบครัวที่เป็นกลาง ไม่เกิดการลำเอียงในการให้ข้อมูล ช่วยให้ผู้ป่วย
เอดส์และครอบครัวตัดสินใจร่วมกัน ในการหาแนวทางการปฏิบตั ติ นและดำเนินชีวติ ต่อไป การให้ข้อมูลที่ชัดเจน ถูกต้องและทันสมัย เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของชุมชน ผู้ป่วยเอดส์ และครอบครัว
หลักสูตร “การดูแลผู้ป่วยเอดส์ที่บ้าน” เป็นหลักสูตรที่สองคล้องกันนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ที่เน้นให้การดูแลสุขภาพในเชิงรุก การทำให้ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้ ทำให้ลดภาระงานของโรงพยาบาลไปได้บ้างในบางส่วน จึงควรนำมาเป็นหลักสูตรพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย ให้มีหลักการและแนวคิดเดียวกันทั้งระบบ ส่วนรูปแบบอาจแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่และสังคม นอกจากนี้คณะผู้วิจัยยังเห็นว่าควรจะพัฒนาหลักสูตรนี้ต่อไปให้ครอบคลุมในทุกมิติทั้งทางด้านสังคมและวัฒนธรรมนอกเหนือจากมิติทางด้านสุขภาพเพียงอย่างเดียวเท่านั้น และควรเน้นการดูแลผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่บ้านควบคู่ไปกับผู้ป่วยเอดส์ด้วย |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน สมอาจ วงษ์ขมทอง บังอร เทพเทียน สมศักดิ์ วงศาวาส อารี คุ้มพิทักษ์ ศิริรัตน์ กาศิเษฎาพันธ์ |
format |
Article |
author |
สมอาจ วงษ์ขมทอง บังอร เทพเทียน สมศักดิ์ วงศาวาส อารี คุ้มพิทักษ์ ศิริรัตน์ กาศิเษฎาพันธ์ |
author_sort |
สมอาจ วงษ์ขมทอง |
title |
การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว |
title_short |
การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว |
title_full |
การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว |
title_fullStr |
การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว |
title_sort |
การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว |
publishDate |
2017 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2013 |
_version_ |
1763488818137137152 |
spelling |
th-mahidol.20132023-03-30T22:12:19Z การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ในการให้คำแนะนำการดูแล รักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว สมอาจ วงษ์ขมทอง บังอร เทพเทียน สมศักดิ์ วงศาวาส อารี คุ้มพิทักษ์ ศิริรัตน์ กาศิเษฎาพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน กลุ่มอาการภูมคุ้มกันเสื่อม การให้คำปรึกษา ผู้ป่วย การจัดการดูแล วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Open Access article Journal of Public Health and Development การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย ในการให้คำแนะนำการดูแลรักษาเบื้องต้นและการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว ในจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิและแม่ฮ่องสอน ในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ ผู้ดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลรักษาในเบื้องต้น และการใช้ยาอย่างเหมาะสมแก่ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัว ผลการสำรวจข้อมูลพื้นฐานจากแบบสอบถาม ได้ทำการสำรวจเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านจำนวน 281 ราย พบว่าเจ้าหน้าที่มีประสบการณ์ในการเยี่ยมบ้านประมาณ 3 ปี และร้อยละ 53 เคยที่มีประสบการณ์ในการเยี่ยมผู้ป่วยเอดส์ที่บ้านปัญหาและอุปสรรคเยี่ยมบ้านมีสาเหตุหลักๆ 2 ประการคือ ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชา รวมทั้งตัวผู้ป่วยเอดส์ และครอบครัวที่ไม่ต้องการเปิดเผยตัว และสองคือเจ้าหน้าที่ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ที่ชัดเจน ขาดทักษะในการให้การดูแลและการเข้าถึงชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับการประเมินความรู้ ความเข้าใจและทักษะของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้าน ที่พบว่าเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านส่วนใหญ่ยังขาดข้อมูลเกี่ยวกับเอดส์ที่ชัดเจน ถูกต้องและทันสมัย นอกจากนี้ยังพบว่าเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านยังมีทัศนคติต่อผู้ป่วยเอดส์และโรคเอดส์ว่าเป็นเรื่องของคนที่มีพฤติกรรมไม่ดี การประเมินผลหลังจากการฝึกอบรม 3 เดือนพบว่า ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปปฏิบัติในการทำงานเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเอดส์ได้เป็นอย่างดี และช่วยพัฒนางานเยี่ยมบ้านให้ดีขึ้นเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านมีความมั่นใจในการปฏิบัติมากยิ่งขึ้นเจ้าหน้าที่มีแนวทางที่จะให้ข้อมูลกับผู้ป่วยเอดส์และครอบครัวที่เป็นกลาง ไม่เกิดการลำเอียงในการให้ข้อมูล ช่วยให้ผู้ป่วย เอดส์และครอบครัวตัดสินใจร่วมกัน ในการหาแนวทางการปฏิบตั ติ นและดำเนินชีวติ ต่อไป การให้ข้อมูลที่ชัดเจน ถูกต้องและทันสมัย เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของชุมชน ผู้ป่วยเอดส์ และครอบครัว หลักสูตร “การดูแลผู้ป่วยเอดส์ที่บ้าน” เป็นหลักสูตรที่สองคล้องกันนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ที่เน้นให้การดูแลสุขภาพในเชิงรุก การทำให้ผู้ป่วยเอดส์และครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้ ทำให้ลดภาระงานของโรงพยาบาลไปได้บ้างในบางส่วน จึงควรนำมาเป็นหลักสูตรพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่เยี่ยมบ้านที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย ให้มีหลักการและแนวคิดเดียวกันทั้งระบบ ส่วนรูปแบบอาจแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่และสังคม นอกจากนี้คณะผู้วิจัยยังเห็นว่าควรจะพัฒนาหลักสูตรนี้ต่อไปให้ครอบคลุมในทุกมิติทั้งทางด้านสังคมและวัฒนธรรมนอกเหนือจากมิติทางด้านสุขภาพเพียงอย่างเดียวเท่านั้น และควรเน้นการดูแลผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่บ้านควบคู่ไปกับผู้ป่วยเอดส์ด้วย The purpose of the project is to strengthening home visitors in supporting home based care for AIDS patients and families and it is designed as action research in order to develop home visitors potentiality in counseling and providing basic home care to the AIDS patients at community level. Quantitative and Qualitative method were used to identity their knowledge, perception and practice among home visitors as well as their problems and needs. These baseline data was used as inputs to develop the training curriculum. The selected community hospitals and health centers were interviewed including : Narathiwat, Khonkean, Chaiyaphoom and Mae-Hongsorn, the response rate was about 88%. The findings indicated that about half (53%) of home visitors had home base care experience. The main problems were lack of support, patients’ confidentiality and lack of skills. The training were conducted accordingly to their provinces in which the contents comprised of the following aspects; modifying home visitors’ attitude, ethiology of HIV/AIDS, pharmacology of anti-retroviral drugs and drug regime care and management for those patients who decided to treat with ARV and guidelines to treat opportunistic disease. The follow-up questionnaires were distributed 3 months later to all participants. The response rate was 75%. Home visitors were satisfied with the training. They are able to use their knowledge and their skills more efficient and confident. They have more practical guideline and updated information to advise the patients and families. The result recommended that Home base care curriculum is served to Ministry of Public Health Policy which is proactive approach. The hospital would have had less burden if AIDS patients can stay home and are taken care by their families. However, the training may be modified to suit the locality and their social context. However, the new curriculum should include social and culture aspects, not only solely health aspect. 2017-06-13T04:29:40Z 2017-06-13T04:29:40Z 2017-06-13 2546 Research Article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 (2546), 4-18 1905-1387 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2013 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |