การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น
การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการควบคุมบทเรียน ในการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม 3 แบบ ได้แก่แบบที่ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมบทเรียน แบบโปรแกรมควบคุมบทเรียน และการควบคุมบทเรียนแบบผสมผสานระหว่างผู้เรียนและโปรแกรม ที่มีต่อความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนอ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2017
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2040 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.2040 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.20402023-04-12T15:22:41Z การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น เนตร หงษ์ไกรเลิศ มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer game assisted instruction (CAI) โรคสมาธิสั้น พฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง Attention deficit hyperactivity disorder (ADHD) Open Access article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Journal of Public Health and Development การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการควบคุมบทเรียน ในการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม 3 แบบ ได้แก่แบบที่ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมบทเรียน แบบโปรแกรมควบคุมบทเรียน และการควบคุมบทเรียนแบบผสมผสานระหว่างผู้เรียนและโปรแกรม ที่มีต่อความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปีที่มี สมาธิสั้น และมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง รูปแบบของการวิจัยเป็นแบบ Pre test–Post test Control Group Design กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการระบุลักษณะว่ามีอาการสมาธิสั้น และมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง จำนวน 120 คนที่ได้จากการคัดเลือกโรงเรียนที่มีนักเรียนระดับประถมศึกษามากกว่า 1,000 คน จากนั้นทำการสุ่มได้ 17 โรงเรียน ได้นักเรียนจำนวน 4,572 คน เมื่อโครงการวิจัยได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรม การวิจัยในคน คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จึงให้ครูสังเกตพฤติกรรมโดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม พบเด็กนักเรียนที่มแี นวโน้มว่ามีอาการสมาธิสั้น จำนวน 376 คน จากนั้นใช้แบบวัดสมาธิต่อเนื่องของเด็กนักเรียน พบนักเรียนที่มีอาการสมาธิสั้น จำนวน 258 คน สุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มตัวอย่างได้ 120 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลองใน 3 กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือการวิจัยที่เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม 3 แบบ และแบบผู้ช่วยสอน มีประสิทธิภาพที่ระดับเกณฑ์ 85/85 แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีค่าความเที่ยง 0.88 และ ความเชื่อมั่นที่ 0.93 ข้อมูลที่รวบรวมได้นำไปวิเคราะห์ด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า ความคงทนในการเรียนของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 4 กลุ่ม ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเรียนพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 The purpose of this study was to develop the computer game assisted instruction (CAI) lesson upon mathematics retention of the age 7-10 of attention deficit hyperactivity disorder (ADHD) students.The subjects were selected by using a 2-step selection. First, 4,572 students from 17 Bangkok Metropolitan Administrative schools were observed and analyzed as students with ADHD by their teachers using Brief Conners’ Teacher Rating Scale. Second, 376 students from the first step were confirmed by using Computerized Continuous Performance Test. Finally, 120 ADHD students were randomly assigned into four groups. The first group with 30 ADHD students was the control group using the tutorial CAI. The other 3 groups of ADHD students were the experimental group using learner control, program control, and combination control in CAI lesson-game. One-Way ANOVA was used for statistical analysis. The major findings are as follows:- 1. The effectiveness of tutorial CAI and 3 CAI lesson-games was higher than criteria. 2. There was no statistical significant difference on retention among those 4 groups. 3. There was a statistical significant difference on time usage among those 4 groups at .05 level. 2017-06-19T07:19:24Z 2017-06-19T07:19:24Z 2017-06-19 2547 Research Article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 2, ฉบับที่ 1 (2547),11-28 1905-1387 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2040 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer game assisted instruction (CAI) โรคสมาธิสั้น พฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง Attention deficit hyperactivity disorder (ADHD) Open Access article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Journal of Public Health and Development |
spellingShingle |
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer game assisted instruction (CAI) โรคสมาธิสั้น พฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง Attention deficit hyperactivity disorder (ADHD) Open Access article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา Journal of Public Health and Development เนตร หงษ์ไกรเลิศ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น |
description |
การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการควบคุมบทเรียน ในการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม 3 แบบ ได้แก่แบบที่ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมบทเรียน แบบโปรแกรมควบคุมบทเรียน และการควบคุมบทเรียนแบบผสมผสานระหว่างผู้เรียนและโปรแกรม ที่มีต่อความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปีที่มี สมาธิสั้น และมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง รูปแบบของการวิจัยเป็นแบบ Pre test–Post test Control Group Design กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการระบุลักษณะว่ามีอาการสมาธิสั้น และมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง จำนวน 120 คนที่ได้จากการคัดเลือกโรงเรียนที่มีนักเรียนระดับประถมศึกษามากกว่า 1,000 คน จากนั้นทำการสุ่มได้ 17 โรงเรียน ได้นักเรียนจำนวน 4,572 คน เมื่อโครงการวิจัยได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรม การวิจัยในคน คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จึงให้ครูสังเกตพฤติกรรมโดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม พบเด็กนักเรียนที่มแี นวโน้มว่ามีอาการสมาธิสั้น จำนวน 376 คน จากนั้นใช้แบบวัดสมาธิต่อเนื่องของเด็กนักเรียน พบนักเรียนที่มีอาการสมาธิสั้น จำนวน 258 คน สุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มตัวอย่างได้ 120 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลองใน 3 กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือการวิจัยที่เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม 3 แบบ และแบบผู้ช่วยสอน มีประสิทธิภาพที่ระดับเกณฑ์ 85/85 แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีค่าความเที่ยง 0.88 และ ความเชื่อมั่นที่ 0.93 ข้อมูลที่รวบรวมได้นำไปวิเคราะห์ด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า ความคงทนในการเรียนของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 4 กลุ่ม ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเรียนพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน เนตร หงษ์ไกรเลิศ |
format |
Article |
author |
เนตร หงษ์ไกรเลิศ |
author_sort |
เนตร หงษ์ไกรเลิศ |
title |
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น |
title_short |
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น |
title_full |
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น |
title_fullStr |
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น |
title_sort |
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนอายุระหว่าง 7-10 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้น |
publishDate |
2017 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2040 |
_version_ |
1781416742465044480 |