ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอํานาจการทํานายของปัจจัยด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทํานายความสัมพันธ์วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรค...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศรัทธา ประกอบชัย, Sattha Prakobchai, ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา, Sasima Kusuma Na Ayuthya, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, Doungrut Wattanakitkrileart, พีระ บูรณะกิจเจริญ, Peera Buranakitjaroen
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21883
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.21883
record_format dspace
spelling th-mahidol.218832023-03-31T01:35:14Z ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง Factors Influencing Medication-Taking Behavior of Hypertensive Patients ศรัทธา ประกอบชัย Sattha Prakobchai ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา Sasima Kusuma Na Ayuthya ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, Doungrut Wattanakitkrileart พีระ บูรณะกิจเจริญ Peera Buranakitjaroen มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. คณะพยาบาลศาสตร์ พฤติกรรมการรับประทานยา การรับรู้สมรรถนะของตนเอง การรับรู้ความรุนแรง โรคความดันโลหิตสูง Open Access article Journal of Nursing Science วารสารพยาบาลศาสตร์ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอํานาจการทํานายของปัจจัยด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทํานายความสัมพันธ์วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ 98 คน ที่รับประทานยาความดันโลหิตสูง และมาติดตามการรักษาที่คลินิกโรคความดันโลหิตสูงเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณผลการวิจัย: พฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอยู่ในระดับดีมาก การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการรับประทานยาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = .444, p < .01; r = .550, p < .01) ตามลําดับ โดยระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการรับประทานยาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = - .260, p < .01) ระดับการศึกษา การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยา สามารถร่วมกันทํานายความแปรปรวนพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 38.9 (R2 = .389, p < .01)สรุปและข้อเสนอแนะ: จากผลการศึกษาครั้งนี้ บุคลากรด้านสุขภาพควรให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับความรุนแรงของภาวะความดันโลหิตสูง และควรส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะของตนเองเพื่อการรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างต่อเนื่อง Purpose: To examine predictive factors of gender, age, educational level, income, perceived severity of hypertension, and perceived self-efficacy on medication-taking behavior of hypertensive patients. Design: Correlational predictive design.Methods: The subject consisted of 98 essential hypertensive patients who received hypertensive drugs and came for treatment and follow-up at hypertension clinic, out-patient department, university hospital, Thailand. Questionnaires were used for data collection. Data were analyzed by using descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation coefficient, and multiple regression analysis.Main findings: The medication-taking behavior of hypertensive patients was at a very good level. Perceived severity of hypertension and perceived self-efficacy to medication-taking behavior had statically significant positive correlations with medication-taking behavior (r = .444, p <.01; r = .550, p < .01) whereas educational level had a negative relationship with medication-taking behavior (r = -.260, p < .01). Level of education, perceived severity of hypertension, and perceived self-efficacy to medication-taking behavior could jointly predict 38.9% of the variance in medication-taking behavior (R2 = .389, p < .01).Conclusion and recommendations: According to the study findings, health care providers should inform the patients about the severity of hypertension and enhance their perceived self-efficacy for long-term adherence to regimen. 2018-07-29T11:22:13Z 2018-07-29T11:22:13Z 2561-07-29 2557 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 32, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2557), 43-51 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21883 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พฤติกรรมการรับประทานยา
การรับรู้สมรรถนะของตนเอง
การรับรู้ความรุนแรง
โรคความดันโลหิตสูง
Open Access article
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
spellingShingle พฤติกรรมการรับประทานยา
การรับรู้สมรรถนะของตนเอง
การรับรู้ความรุนแรง
โรคความดันโลหิตสูง
Open Access article
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
ศรัทธา ประกอบชัย
Sattha Prakobchai
ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา
Sasima Kusuma Na Ayuthya
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ,
Doungrut Wattanakitkrileart
พีระ บูรณะกิจเจริญ
Peera Buranakitjaroen
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอํานาจการทํานายของปัจจัยด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทํานายความสัมพันธ์วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ 98 คน ที่รับประทานยาความดันโลหิตสูง และมาติดตามการรักษาที่คลินิกโรคความดันโลหิตสูงเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณผลการวิจัย: พฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอยู่ในระดับดีมาก การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการรับประทานยาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = .444, p < .01; r = .550, p < .01) ตามลําดับ โดยระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการรับประทานยาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = - .260, p < .01) ระดับการศึกษา การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง และการรับรู้สมรรถนะของตนเองต่อพฤติกรรมการรับประทานยา สามารถร่วมกันทํานายความแปรปรวนพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 38.9 (R2 = .389, p < .01)สรุปและข้อเสนอแนะ: จากผลการศึกษาครั้งนี้ บุคลากรด้านสุขภาพควรให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับความรุนแรงของภาวะความดันโลหิตสูง และควรส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะของตนเองเพื่อการรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างต่อเนื่อง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ศรัทธา ประกอบชัย
Sattha Prakobchai
ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา
Sasima Kusuma Na Ayuthya
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ,
Doungrut Wattanakitkrileart
พีระ บูรณะกิจเจริญ
Peera Buranakitjaroen
format Article
author ศรัทธา ประกอบชัย
Sattha Prakobchai
ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา
Sasima Kusuma Na Ayuthya
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ,
Doungrut Wattanakitkrileart
พีระ บูรณะกิจเจริญ
Peera Buranakitjaroen
author_sort ศรัทธา ประกอบชัย
title ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
title_short ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
title_full ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
title_fullStr ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
title_sort ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21883
_version_ 1763495896047157248