ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน

วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความเชื่อที่มีต่อผลของการเลิกสูบบุหรี่ การประเมินผลลัพธ์ของการเลิกสูบบุหรี่ และทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อ และทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ในระหว่าง 6 เดือนข้างหน้า ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน รูปแบบการวิจัย: ก...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ, Ratchadaporn Ungcharoen, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, Acharaporn Seeherunwong, รณชัย คงสกนธ์, Ronnachai Kongsakon, ดุสิต สุจิรารัตน์, Dusit Sujirarat
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21884
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.21884
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การเลิกสูบบุหรี่
การติดนิโคติน
ความเชื่อ
ทัศนคติ
วัยรุ่น
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
Journal of Nursing Science
spellingShingle การเลิกสูบบุหรี่
การติดนิโคติน
ความเชื่อ
ทัศนคติ
วัยรุ่น
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
Journal of Nursing Science
รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ
Ratchadaporn Ungcharoen
อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
Acharaporn Seeherunwong
รณชัย คงสกนธ์
Ronnachai Kongsakon
ดุสิต สุจิรารัตน์
Dusit Sujirarat
ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน
description วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความเชื่อที่มีต่อผลของการเลิกสูบบุหรี่ การประเมินผลลัพธ์ของการเลิกสูบบุหรี่ และทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อ และทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ในระหว่าง 6 เดือนข้างหน้า ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายความสัมพันธ์ วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1-3 ที่สูบบุหรี่ อายุระหว่าง 15-24 ปี จํานวน 632 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ 3 ขั้น เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่แบบติดสารนิโคติน (CAGE) แบบสอบถามทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ แบบสอบถามความเชื่อที่มีต่อผลของการเลิกสูบบุหรี่ และแบบสอบถามการประเมินผลลัพธ์ของการเลิกสูบบุหรี่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา independent t-test และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย: กลุ่มที่ไม่ติดนิโคตินมีความเชื่อว่า การเลิกสูบบุหรี่จะทําให้มีสุขภาพดี และภาพลักษณ์ดี มากกว่ากลุ่มที่ติดนิโคติน แต่กลุ่มที่ติดนิโคตินเชื่อว่า ถ้าเลิกสูบบุหรี่แล้วจะทําให้เกิดอาการไม่สุขสบาย และอารมณ์หงุดหงิดมากกว่ากลุ่มที่ไม่ติดนิโคติน ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่เป็นไปในทางบวก (r = .42, p < .01) ในกลุ่มนักศึกษาที่ไม่ติดนิโคติน มีค่าความสัมพันธ์สูงกว่ากลุ่มที่ติดนิโคติน (r = .48, p < .01; r = .30, p < .01) ตามลําดับ สรุปและข้อเสนอแนะ: ควรนําความเชื่อต่อการเลิกสูบบุหรี่ที่มีความเฉพาะเจาะจงในกลุ่มที่ติดและไม่ติดนิโคติน มาใช้ในการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ในนักเรียนอาชีวศึกษา ในกลุ่มที่ยังไม่ติดนิโคติน ควรเน้นเรื่องสุขภาพ ภาพลักษณ์ ส่วนกลุ่มที่ติดนิโคติน ควรเน้นในเรื่องการแก้ไขอาการหงุดหงิด และไม่สุขสบายจากการงดสูบบุหรี่
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ
Ratchadaporn Ungcharoen
อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
Acharaporn Seeherunwong
รณชัย คงสกนธ์
Ronnachai Kongsakon
ดุสิต สุจิรารัตน์
Dusit Sujirarat
format Article
author รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ
Ratchadaporn Ungcharoen
อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
Acharaporn Seeherunwong
รณชัย คงสกนธ์
Ronnachai Kongsakon
ดุสิต สุจิรารัตน์
Dusit Sujirarat
author_sort รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ
title ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน
title_short ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน
title_full ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน
title_fullStr ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน
title_full_unstemmed ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน
title_sort ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21884
_version_ 1763488030882004992
spelling th-mahidol.218842023-03-30T13:52:24Z ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน Beliefs and Attitudes toward Smoking Cessation among Vocational Students with Nicotine Addiction and Non-Addiction รัชฏาภรณ์ อึ้งเจริญ Ratchadaporn Ungcharoen อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ Acharaporn Seeherunwong รณชัย คงสกนธ์ Ronnachai Kongsakon ดุสิต สุจิรารัตน์ Dusit Sujirarat มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ จังหวัดสกลนคร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ การเลิกสูบบุหรี่ การติดนิโคติน ความเชื่อ ทัศนคติ วัยรุ่น วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความเชื่อที่มีต่อผลของการเลิกสูบบุหรี่ การประเมินผลลัพธ์ของการเลิกสูบบุหรี่ และทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อ และทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ในระหว่าง 6 เดือนข้างหน้า ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดนิโคตินและไม่ติดนิโคติน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายความสัมพันธ์ วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1-3 ที่สูบบุหรี่ อายุระหว่าง 15-24 ปี จํานวน 632 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ 3 ขั้น เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่แบบติดสารนิโคติน (CAGE) แบบสอบถามทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ แบบสอบถามความเชื่อที่มีต่อผลของการเลิกสูบบุหรี่ และแบบสอบถามการประเมินผลลัพธ์ของการเลิกสูบบุหรี่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา independent t-test และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย: กลุ่มที่ไม่ติดนิโคตินมีความเชื่อว่า การเลิกสูบบุหรี่จะทําให้มีสุขภาพดี และภาพลักษณ์ดี มากกว่ากลุ่มที่ติดนิโคติน แต่กลุ่มที่ติดนิโคตินเชื่อว่า ถ้าเลิกสูบบุหรี่แล้วจะทําให้เกิดอาการไม่สุขสบาย และอารมณ์หงุดหงิดมากกว่ากลุ่มที่ไม่ติดนิโคติน ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่เป็นไปในทางบวก (r = .42, p < .01) ในกลุ่มนักศึกษาที่ไม่ติดนิโคติน มีค่าความสัมพันธ์สูงกว่ากลุ่มที่ติดนิโคติน (r = .48, p < .01; r = .30, p < .01) ตามลําดับ สรุปและข้อเสนอแนะ: ควรนําความเชื่อต่อการเลิกสูบบุหรี่ที่มีความเฉพาะเจาะจงในกลุ่มที่ติดและไม่ติดนิโคติน มาใช้ในการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ในนักเรียนอาชีวศึกษา ในกลุ่มที่ยังไม่ติดนิโคติน ควรเน้นเรื่องสุขภาพ ภาพลักษณ์ ส่วนกลุ่มที่ติดนิโคติน ควรเน้นในเรื่องการแก้ไขอาการหงุดหงิด และไม่สุขสบายจากการงดสูบบุหรี่ Purposes: This study aimed to compare the difference of smoking cessation beliefs and evaluation of consequence of smoking cessation and to examine relationship between beliefs and attitudes toward smoking cessation during the next six months among vocational students with nicotine addiction and non-addiction.Designs: Descriptive correlational study. Methods: Subjects were 632 students who were smokers and studied in vocational schools (1st - 3rd year) located in Bangkok, aged 15-24 years. A three-stage stratified cluster sampling was used to identify the subjects. Subjects were given a set of questionnaires, which screened for nicotine addiction (CAGE questionnaire), attitudes toward smoking cessation, beliefs regarding the consequences arising from smoking cessation and evaluation of consequence of smoking cessation during the next six months. Descriptive statistics, independent t-test and Pearson’s product moment correlation coefficients were used to analyze the data.Main findings: The findings showed that the students with nicotine non-addiction believed that quitting smoking helped them to have better health and body image than those with nicotine addiction. In contrast, the students with nicotine addiction believed that quitting smoking made them got more discomfort and irritate mood than the others. The correlation between attitudes and beliefs toward smoking cessation was positive (r = .42, p < .01). The correlation coefficients in students with nicotine non-addiction were higher than those in students with nicotine addiction (r = .48, p < .01; r = .30, p < .01).Conclusion and recommendations: The specific beliefs toward smoking cessation of the students with nicotine addiction and non-addiction should be used to modify attitudes toward smoking cessation in vocational students. For smokers with nicotine non-addiction, issues on health and body image should be addressed while for smokers with nicotine addiction, issues on dealing with discomfort and symptoms from nicotine intoxication should be emphasized. 2018-07-29T11:34:31Z 2018-07-29T11:34:31Z 2561-07-29 2557 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 32, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2557), 52-62 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21884 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf