ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษา 1) ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4, 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาพยาบาลระหว่างชั้นปีที่ 1 ถึง ชั้นปีที่ 4และเปรียบเทียบพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาลระหว่างชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4, 3) ศึกษาควา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กนกพร หมู่พยัคฆ์, Kanokporn Moopayak, จรินทิพย์ อุดมพันธุรัก, Jarintip Udomphanthurak, ชลียา กัญพัฒนพร, Chaleeya Kanyapattanapron, ชัญญา แสงจันทร์, Chanya Sangchan, พวงเพชร เกษรสมุทร, Phuangphet Kaesornsamut
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21944
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.21944
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความฉลาดทางอารมณ์
พฤติกรรมการปรับตัว
บทบาทการเป็นนักศึกษา
การเรียนภาคปฏิบัติ
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
spellingShingle ความฉลาดทางอารมณ์
พฤติกรรมการปรับตัว
บทบาทการเป็นนักศึกษา
การเรียนภาคปฏิบัติ
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
กนกพร หมู่พยัคฆ์
Kanokporn Moopayak
จรินทิพย์ อุดมพันธุรัก
Jarintip Udomphanthurak
ชลียา กัญพัฒนพร
Chaleeya Kanyapattanapron
ชัญญา แสงจันทร์
Chanya Sangchan
พวงเพชร เกษรสมุทร
Phuangphet Kaesornsamut
ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษา 1) ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4, 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาพยาบาลระหว่างชั้นปีที่ 1 ถึง ชั้นปีที่ 4และเปรียบเทียบพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาลระหว่างชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4, 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาพยาบาล และพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 จำนวน 262 คน ซึ่งมีชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 126 คนเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต และแบบสอบถามพฤติกรรมการปรับตัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย: พบว่า 1) นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1-4 มีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางอารมณ์อยู่ระดับปกติ 2) นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1-4 มีการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาไม่แตกต่างกัน (p > .05) และนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 มีพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติไม่แตกต่างกัน 3) คะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมและตามรายด้านเก่ง ดี มีสุข มีความสัมพันธ์กับคะแนนพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .520, .417, .501, .451; p < .001 ตามลำดับ) และมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .459, .265, .315, .355; p < .001 ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและฝ่ายจัดการศึกษาควรประสานความร่วมมือในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ให้กับนักศึกษาพยาบาลเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทนักศึกษากับพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
กนกพร หมู่พยัคฆ์
Kanokporn Moopayak
จรินทิพย์ อุดมพันธุรัก
Jarintip Udomphanthurak
ชลียา กัญพัฒนพร
Chaleeya Kanyapattanapron
ชัญญา แสงจันทร์
Chanya Sangchan
พวงเพชร เกษรสมุทร
Phuangphet Kaesornsamut
format Article
author กนกพร หมู่พยัคฆ์
Kanokporn Moopayak
จรินทิพย์ อุดมพันธุรัก
Jarintip Udomphanthurak
ชลียา กัญพัฒนพร
Chaleeya Kanyapattanapron
ชัญญา แสงจันทร์
Chanya Sangchan
พวงเพชร เกษรสมุทร
Phuangphet Kaesornsamut
author_sort กนกพร หมู่พยัคฆ์
title ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21944
_version_ 1763497809070260224
spelling th-mahidol.219442023-03-31T07:18:23Z ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล Correlation between Emotional Intelligence and Adaptive Behaviors of Nursing Students กนกพร หมู่พยัคฆ์ Kanokporn Moopayak จรินทิพย์ อุดมพันธุรัก Jarintip Udomphanthurak ชลียา กัญพัฒนพร Chaleeya Kanyapattanapron ชัญญา แสงจันทร์ Chanya Sangchan พวงเพชร เกษรสมุทร Phuangphet Kaesornsamut มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ ความฉลาดทางอารมณ์ พฤติกรรมการปรับตัว บทบาทการเป็นนักศึกษา การเรียนภาคปฏิบัติ Journal of Nursing Science วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษา 1) ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4, 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาพยาบาลระหว่างชั้นปีที่ 1 ถึง ชั้นปีที่ 4และเปรียบเทียบพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาลระหว่างชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4, 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาพยาบาล และพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 จำนวน 262 คน ซึ่งมีชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 126 คนเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต และแบบสอบถามพฤติกรรมการปรับตัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย: พบว่า 1) นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1-4 มีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางอารมณ์อยู่ระดับปกติ 2) นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1-4 มีการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาไม่แตกต่างกัน (p > .05) และนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 มีพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติไม่แตกต่างกัน 3) คะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมและตามรายด้านเก่ง ดี มีสุข มีความสัมพันธ์กับคะแนนพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทการเป็นนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .520, .417, .501, .451; p < .001 ตามลำดับ) และมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .459, .265, .315, .355; p < .001 ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและฝ่ายจัดการศึกษาควรประสานความร่วมมือในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ให้กับนักศึกษาพยาบาลเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการปรับตัวตามบทบาทนักศึกษากับพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนภาคปฏิบัติ Purpose: The objectives of this study were to: 1) explore emotional intelligence of nursing students from the 1st to 4th academic years; 2) compare adaptive behaviors in nursing student roles from the 1st to the 4th academic years, and compare adaptive behaviors in nursing practicum between the 3rd year and the 4th year nursing students; 3) examine the correlation of emotional intelligence and adaptive behaviors in nursing student roles and adaptive behaviors in nursing practicum of nursing students. Design: Correlational research. Methods: The sample consisted of 262 of 1st- 4th year nursing students, with 126 students in the 3rd and the 4th academic years. Data were collected by using the Emotional Intelligence Screening Test for the Thai Population of the Department of Mental Health, and adaptive behaviors in nursing student roles and nursing practicum questionnaires. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, One-way analysis of variance and Pearson’s correlation. Main findings: The results revealed that: 1) the mean scores of emotional intelligence of 1st- 4th year nursing students were in normal levels; 2) the adaptive behaviors in nursing students roles from the 1st to the 4th academic year were not significantly different (p >.05), and the adaptive behaviors in nursing practicum of nursing students from the 3rd to the 4th academic year were not significantly different (p > .05); 3) the total score of emotional intelligence and the three sub-scale scores of emotional intelligence (virtue, competence, and happiness) were significantly correlated with adaptive behaviors in nursing student roles (r = .520, .417, .501, .451, p < .001 respectively) and with adaptive behaviors in nursing practicum (r = .459, .265, .315, .355, p < .001 respectively). Conclusion and recommendations: The results suggest that student development unit and educational management unit should work collaboratively in the development of emotional intelligence in order to promote adaptive behaviors in nursing student roles and adaptive behaviors in nursing practicum. 2018-08-06T09:21:22Z 2018-08-06T09:21:22Z 2561-08-06 2558 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 33 (ฉ. เพิ่มเติม 1), ฉบับที่ 1 (ม.ค - มี.ค. 2558), 55-65 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21944 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf