การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด
วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด รูปแบบการศึกษา: การใช้รูปแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ วิธีดำเนินการศึกษา: ใช้รูปแบบการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลของซูคัป เป็นกรอบแนวคิ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21950 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.21950 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.219502023-03-31T12:00:14Z การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด The Development of a Clinical Nursing Practice Guideline to Psychological Support in Pregnant Women with Antenatal Diagnosis of Surgically Correctable Fetal Anomalies ประคอง ชื่นวัฒนา Prakong Chuenwattana ฉวีวรรณ อยู่สําาราญ Chaweewan Yusamran อัมประภา เผ่าพันธ์ Amprapa Phoapan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล แนวปฏิบัติการพยาบาล การสนับสนุนด้านจิตใจ ทารกในครรภ์ผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Open Access article วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด รูปแบบการศึกษา: การใช้รูปแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ วิธีดำเนินการศึกษา: ใช้รูปแบบการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลของซูคัป เป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนา ซึ่งมี 4 ระยะ คือ 1) การค้นหาปัญหา 2) การสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ 3) การพัฒนาแนวปฏิบัติและนำไปทดลองใช้ และ 4) การนำแนวปฏิบัติที่ปรับปรุงแล้วไปใช้จริงในหน่วยงาน โดยการศึกษาครั้งนี้ได้เริ่มศึกษาจากระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 3 มีงานวิจัยทั้งหมด 10 เรื่อง ประกอบด้วย การทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบ 1 เรื่อง งานวิจัยแบบศึกษาไปข้างหน้า จำนวน 2 เรื่อง งานวิจัยแบบการศึกษาย้อนหลัง จำนวน 3 เรื่อง และงานวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 5 เรื่อง รวมทั้งการประเมินความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้ของแนวปฏิบัติ ผลการศึกษา: ผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัยดังกล่าวมี 3 ประเด็นหลัก คือ 1) การประเมินภาวะทางด้านจิตใจและความต้องการการสนับสนุน 2) เทคนิกการสนับสนุนจิตใจด้านอารมณ์และด้านข้อมูล และ 3) การดูแลที่ละเอียดอ่อนต่อความรู้สึกและได้นำผลมาพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลและได้ผ่านการตรวจสอบเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน และนำมาปรับปรุงแก้ไขให้มีความเหมาะสม สรุปและข้อเสนอแนะ: การนำแนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ไปใช้ควรศึกษานำรองเพื่อประเมินผลทั้งด้านกระบวนการและผลลัพธ์ ควรมีการปรับแนวปฏิบัติให้เหมาะสมกับบริบทของคลินิก นอกจากนี้บูรณาการเข้าไว้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องและมีกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง Purpose: To examine the development of a clinical nursing practice guideline (CNPG) to psychologically support in pregnant women antenatal diagnosed of surgically correctable fetal anomalies. Design: Evidences-based practice design. Methods: Research evidences-based practice design using the Soukup model was selected as a conceptual framework for the development of CNPG. An EBP model had four phases which consisted of 1) Evidence triggered phase, 2) Evidence supported phase, 3) Evidence observed phase, and 4) Evidence based phase. This study was conducted from phase 1 to phase 3 of the EBP model. A total of 10 research studies which comprised of 1 systematic review, 2 prospective studies, 3 retrospective studies, and 5 qualitative studies were used to develop this CNPG. The credibility and the feasibility of implementation were performed. Main findings: The findings of analyses and syntheses all the literatures were 3 clinical issues such as 1) psychology assessment and support need assessment, 2) psychological support techniques with emotion and information support, and 3) sensitive nursing care. The content of this CNPG was validated by 5 experts and adjusted for the appropriation. Conclusion and recommendations: A pilot study of CNPG use needs to be done to evaluate for process and outcomes of this CNPG. The implementation of the CNPG should be adjusted for the appropriateness for using in the clinic context. In addition, the integration of CNPG as a part of Continuous Quality Improvement (CQI) and the process of improvement should be continued. 2018-08-07T08:19:35Z 2018-08-07T08:19:35Z 2561-08-07 2558 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 33, ฉบับที่ 2 ( เม.ย. - มิ.ย. 2558), 51-60 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21950 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
แนวปฏิบัติการพยาบาล การสนับสนุนด้านจิตใจ ทารกในครรภ์ผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Open Access article |
spellingShingle |
แนวปฏิบัติการพยาบาล การสนับสนุนด้านจิตใจ ทารกในครรภ์ผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Open Access article ประคอง ชื่นวัฒนา Prakong Chuenwattana ฉวีวรรณ อยู่สําาราญ Chaweewan Yusamran อัมประภา เผ่าพันธ์ Amprapa Phoapan การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด |
description |
วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด
รูปแบบการศึกษา: การใช้รูปแบบหลักฐานเชิงประจักษ์
วิธีดำเนินการศึกษา: ใช้รูปแบบการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลของซูคัป เป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนา ซึ่งมี 4 ระยะ คือ 1) การค้นหาปัญหา 2) การสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ 3) การพัฒนาแนวปฏิบัติและนำไปทดลองใช้ และ 4) การนำแนวปฏิบัติที่ปรับปรุงแล้วไปใช้จริงในหน่วยงาน โดยการศึกษาครั้งนี้ได้เริ่มศึกษาจากระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 3 มีงานวิจัยทั้งหมด 10 เรื่อง ประกอบด้วย การทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบ 1 เรื่อง งานวิจัยแบบศึกษาไปข้างหน้า จำนวน 2 เรื่อง งานวิจัยแบบการศึกษาย้อนหลัง จำนวน 3 เรื่อง และงานวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 5 เรื่อง รวมทั้งการประเมินความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้ของแนวปฏิบัติ
ผลการศึกษา: ผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัยดังกล่าวมี 3 ประเด็นหลัก คือ 1) การประเมินภาวะทางด้านจิตใจและความต้องการการสนับสนุน 2) เทคนิกการสนับสนุนจิตใจด้านอารมณ์และด้านข้อมูล และ 3) การดูแลที่ละเอียดอ่อนต่อความรู้สึกและได้นำผลมาพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลและได้ผ่านการตรวจสอบเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน และนำมาปรับปรุงแก้ไขให้มีความเหมาะสม
สรุปและข้อเสนอแนะ: การนำแนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ไปใช้ควรศึกษานำรองเพื่อประเมินผลทั้งด้านกระบวนการและผลลัพธ์ ควรมีการปรับแนวปฏิบัติให้เหมาะสมกับบริบทของคลินิก นอกจากนี้บูรณาการเข้าไว้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องและมีกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ ประคอง ชื่นวัฒนา Prakong Chuenwattana ฉวีวรรณ อยู่สําาราญ Chaweewan Yusamran อัมประภา เผ่าพันธ์ Amprapa Phoapan |
format |
Article |
author |
ประคอง ชื่นวัฒนา Prakong Chuenwattana ฉวีวรรณ อยู่สําาราญ Chaweewan Yusamran อัมประภา เผ่าพันธ์ Amprapa Phoapan |
author_sort |
ประคอง ชื่นวัฒนา |
title |
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด |
title_short |
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด |
title_full |
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด |
title_fullStr |
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด |
title_sort |
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสนับสนุนด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติโดยต้องได้รับการผ่าตัดภายหลังคลอด |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/21950 |
_version_ |
1764209877028175872 |