ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคไตอักเสบลูปัสจำน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สิริกาญจน์ หาญรบ, Sirikarn Hanrop, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, Wimolrat Puwarawuttipanit, อรวมน ศรียุกตศุทธ, Aurawamon Sriyuktasuth, สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Suchai Sritippayawan
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/22377
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.22377
record_format dspace
spelling th-mahidol.223772023-03-30T17:19:10Z ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส Symptom Experiences, Management Strategies, and Functional Status in Lupus Nephritis Patients สิริกาญจน์ หาญรบ Sirikarn Hanrop วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช Wimolrat Puwarawuttipanit อรวมน ศรียุกตศุทธ Aurawamon Sriyuktasuth สุชาย ศรีทิพยวรรณ Suchai Sritippayawan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ไตอักเสบลูปัส ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ ภาวะการทำหน้าที่ Journal of Nursing Science วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคไตอักเสบลูปัสจำนวน 100 คนซึ่งมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามประสบการณ์การมีอาการของผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส แบบสัมภาษณ์กลวิธีการจัดการอาการ และแบบสอบถามภาวะการทำหน้าที่ ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะการทำหน้าที่อยู่ในเกณฑ์ดี (Mean = 47.74 SD = 7.79) ประสบการณ์การมีอาการที่รบกวนการดำเนินชีวิตมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ตามัว นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย/ไม่มีแรง ปวดข้อ และปวดศีรษะ มีค่าความสัมพันธ์เชิงลบกับภาวะการทำหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r= - .32, - .31, - .49, - .49, - .23 ตามลำดับ; p < .05) กลุ่มตัวอย่างจัดการกับอาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ/นอนยาก อ่อนเพลีย/ไม่มีแรง ปวดข้อ และตามัว โดยกลวิธีการจัดการอาการใช้การรับประทานยาแก้ปวดการพยายามฝืนนอนหลับ การนอนพัก การทายาลดปวด/เมื่อย การไปพบแพทย์ ตามลำดับ สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินอาการ และวางแผนการดูแลที่มีประสิทธิภาพ และให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว นอกจากนี้พยาบาลควรมีการทำวิจัย และพัฒนาโปรแกรมการจัดการอาการที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดความทุกข์ทรมานจากอาการต่างๆ และเพิ่มภาวะการทำหน้าที่ที่ดีขึ้นของผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส Purpose: To explore the symptom experiences, management strategies, functional status in lupus nephritis and the relationships between symptom experiences and functional status in lupus nephritis patients. Design: A descriptive correlation study design. Methods: The sample consisted of 100 lupus nephritis patients who were 18 years or older. Data were collected using questionnaires on demographic characteristics, the Memorial Symptom Assessment Scale, management strategies, and the Thai-Modified function Living Index Cancer. Main findings: The patients had a good functional status (mean = 47.74, SD = 7.79). Blurred vision, insomnia, fatigue, and headache were significantly negative correlated with functional status. (r = - .32, - .31, - .49, - .49, - .23, respectively; p < .05) The most common symptom management strategies by patients to manage the top five common symptoms (headache, sleeping difficulties, fatigue, arthralgia, and vision loss) were taking medication, trying sleep, rest, and seeing a doctor. Conclusions and recommendations: Nurses should evaluate symptoms and plan effective care as well as provide knowledge to patients and families. Moreover, nurses should conduct research and develop program to retrieve symptoms and enrich functional status of Lupus Nephritis Patients. 2018-08-10T08:46:54Z 2018-08-10T08:46:54Z 2561-08-10 2558 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 33, ฉบับที่ 4 (ต.ค - ธ.ค. 2558), 65-75 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/22377 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ไตอักเสบลูปัส
ประสบการณ์การมีอาการ
กลวิธีการจัดการอาการ
ภาวะการทำหน้าที่
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
spellingShingle ไตอักเสบลูปัส
ประสบการณ์การมีอาการ
กลวิธีการจัดการอาการ
ภาวะการทำหน้าที่
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
สิริกาญจน์ หาญรบ
Sirikarn Hanrop
วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช
Wimolrat Puwarawuttipanit
อรวมน ศรียุกตศุทธ
Aurawamon Sriyuktasuth
สุชาย ศรีทิพยวรรณ
Suchai Sritippayawan
ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคไตอักเสบลูปัสจำนวน 100 คนซึ่งมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามประสบการณ์การมีอาการของผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส แบบสัมภาษณ์กลวิธีการจัดการอาการ และแบบสอบถามภาวะการทำหน้าที่ ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะการทำหน้าที่อยู่ในเกณฑ์ดี (Mean = 47.74 SD = 7.79) ประสบการณ์การมีอาการที่รบกวนการดำเนินชีวิตมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ตามัว นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย/ไม่มีแรง ปวดข้อ และปวดศีรษะ มีค่าความสัมพันธ์เชิงลบกับภาวะการทำหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r= - .32, - .31, - .49, - .49, - .23 ตามลำดับ; p < .05) กลุ่มตัวอย่างจัดการกับอาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ/นอนยาก อ่อนเพลีย/ไม่มีแรง ปวดข้อ และตามัว โดยกลวิธีการจัดการอาการใช้การรับประทานยาแก้ปวดการพยายามฝืนนอนหลับ การนอนพัก การทายาลดปวด/เมื่อย การไปพบแพทย์ ตามลำดับ สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินอาการ และวางแผนการดูแลที่มีประสิทธิภาพ และให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว นอกจากนี้พยาบาลควรมีการทำวิจัย และพัฒนาโปรแกรมการจัดการอาการที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดความทุกข์ทรมานจากอาการต่างๆ และเพิ่มภาวะการทำหน้าที่ที่ดีขึ้นของผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
สิริกาญจน์ หาญรบ
Sirikarn Hanrop
วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช
Wimolrat Puwarawuttipanit
อรวมน ศรียุกตศุทธ
Aurawamon Sriyuktasuth
สุชาย ศรีทิพยวรรณ
Suchai Sritippayawan
format Article
author สิริกาญจน์ หาญรบ
Sirikarn Hanrop
วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช
Wimolrat Puwarawuttipanit
อรวมน ศรียุกตศุทธ
Aurawamon Sriyuktasuth
สุชาย ศรีทิพยวรรณ
Suchai Sritippayawan
author_sort สิริกาญจน์ หาญรบ
title ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส
title_short ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส
title_full ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส
title_fullStr ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส
title_full_unstemmed ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส
title_sort ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/22377
_version_ 1763497438642962432