ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ โดยใช้แบบจำลองระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ออกแบบการทดลองในลักษณะ Factorial design (32) ปัจจัยร่วม ซึ่งประกอบด้วย 9 สภาวะการทดลองที่แตกต่างกัน ก...
Saved in:
Main Authors: | , , , , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2330 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.2330 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
เอทูโอ (แอนแอโรบิก-แอนอกซิก-ออกซิก) การกำจัดสารอาหารทางชีวภาพ อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ (แอนแอโรบิก:แอนอกซิก:ออกซิก) ระยะเวลาเก็บกักตะกอน น้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health |
spellingShingle |
เอทูโอ (แอนแอโรบิก-แอนอกซิก-ออกซิก) การกำจัดสารอาหารทางชีวภาพ อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ (แอนแอโรบิก:แอนอกซิก:ออกซิก) ระยะเวลาเก็บกักตะกอน น้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health นุช คูหาสวรรค์ ประยูร ฟองสถิตย์กุล สุวิทย์ ชุมนุมศิริวัฒน์ กฤษณ์ เฑียรฆประสิทธิ์ ชวลิต วโรดมรังสิมันตุ์ ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ |
description |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ โดยใช้แบบจำลองระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ออกแบบการทดลองในลักษณะ Factorial design (32) ปัจจัยร่วม ซึ่งประกอบด้วย 9 สภาวะการทดลองที่แตกต่างกัน กำหนดตัวแปรจากอัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ (แอนแอโรบิก : แอนอกซิก : ออกซิก) 3 ระดับ คือ 15:35:50, 20:40:40 และ 25:45:30 (ร้อยละโดยปริมาตร) และระยะเวลาเก็บกักตะกอน 3 ระดับ คือ 10, 15 และ 20 วัน ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดี ทีเคเอ็นไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสฟอรัสเฉลี่ยอยู่ระหว่างร้อยละ 96.91-98.65, 97.46-9854, 93.19-97.13 และ 89.74-99.01 ตามลำดับ ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดี ทีเคเอ็น และไนโตรเจนทั้งหมด ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญสำหรับทุกอัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ ขณะที่อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ 20:40:40 และ 25:45:30 (ร้อยละโดยปริมาตร) มีประสิทธิภาพการกำจัดฟอสฟอรัสสูงกว่าอัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ 15:35:50 (ร้อยละโดยปริมาตร) อย่างมีนัยสำคัญ แต่ประสิทธิภาพที่อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ 20:40:40 และ 25:45:30 (ร้อยละโดยปริมาตร) มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญส่วนระยะเวลาเก็บกักตะกอนสามารถส่งผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดทีเคเอ็นไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสฟอรัสโดยที่ระยะเวลาเก็บกักตะกอน 20 วัน มีประสิทธิภาพการกำจัดทีเคเอ็นและไนโตรเจนทั้งหมดสูงกว่าที่ระยะเวลาเก็บกักตะกอน 10 และ 15 วัน อย่างมีนัยสำคัญ ในทางตรงกันข้ามประสิทธิภาพการกำจัดฟอสฟอรัสที่ระยะเวลาเก็บกักตะกอน 10 วัน มีค่าสูงกว่าที่ระยะเวลาเก็บกักตะกอน 15 และ 20 วัน อย่างมีนัยสำคัญ แต่ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีมีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญสำหรับทุกระยะเวลาเก็บกักตะกอน ดังนั้นสภาวะที่เหมาะสมของการบำบัดน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ด้วยระบบเอทูโอคือ ที่อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ (แอนแอโรบิก:แอนอกซิก:ออกซิก) 25:45:30: (ร้อยละโดยปริมาตร) และมีระยะเวลาเก็บกักตะกอน 10 วัน โดยมีประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดี ทีเคเอ็น ไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสฟอรัส ประมาณร้อยละ 97.23, 97.46, 94.87 และ 99.01 ตามลำดับ |
format |
Article |
author |
นุช คูหาสวรรค์ ประยูร ฟองสถิตย์กุล สุวิทย์ ชุมนุมศิริวัฒน์ กฤษณ์ เฑียรฆประสิทธิ์ ชวลิต วโรดมรังสิมันตุ์ |
author_facet |
นุช คูหาสวรรค์ ประยูร ฟองสถิตย์กุล สุวิทย์ ชุมนุมศิริวัฒน์ กฤษณ์ เฑียรฆประสิทธิ์ ชวลิต วโรดมรังสิมันตุ์ |
author_sort |
นุช คูหาสวรรค์ |
title |
ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ |
title_short |
ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ |
title_full |
ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ |
title_fullStr |
ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ |
title_full_unstemmed |
ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ |
title_sort |
ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (anaerobic-anoxic-oxic; a2/o) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ |
publishDate |
2011 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2330 |
_version_ |
1781414696492990464 |
spelling |
th-mahidol.23302023-04-12T15:25:00Z ความเป็นไปได้ของระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ Feasibility of wastewater treatment system A2/O for biological organics and nutrient (nitrogen and phosphorus) removals from slaughterhouse wastewater นุช คูหาสวรรค์ ประยูร ฟองสถิตย์กุล สุวิทย์ ชุมนุมศิริวัฒน์ กฤษณ์ เฑียรฆประสิทธิ์ ชวลิต วโรดมรังสิมันตุ์ เอทูโอ (แอนแอโรบิก-แอนอกซิก-ออกซิก) การกำจัดสารอาหารทางชีวภาพ อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ (แอนแอโรบิก:แอนอกซิก:ออกซิก) ระยะเวลาเก็บกักตะกอน น้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ Open Access article วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพในการกำจัดสารอินทรีย์และสารอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส) จากน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ โดยใช้แบบจำลองระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพแบบเอทูโอ (Anaerobic-Anoxic-Oxic; A2/O) ออกแบบการทดลองในลักษณะ Factorial design (32) ปัจจัยร่วม ซึ่งประกอบด้วย 9 สภาวะการทดลองที่แตกต่างกัน กำหนดตัวแปรจากอัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ (แอนแอโรบิก : แอนอกซิก : ออกซิก) 3 ระดับ คือ 15:35:50, 20:40:40 และ 25:45:30 (ร้อยละโดยปริมาตร) และระยะเวลาเก็บกักตะกอน 3 ระดับ คือ 10, 15 และ 20 วัน ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดี ทีเคเอ็นไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสฟอรัสเฉลี่ยอยู่ระหว่างร้อยละ 96.91-98.65, 97.46-9854, 93.19-97.13 และ 89.74-99.01 ตามลำดับ ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดี ทีเคเอ็น และไนโตรเจนทั้งหมด ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญสำหรับทุกอัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ ขณะที่อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ 20:40:40 และ 25:45:30 (ร้อยละโดยปริมาตร) มีประสิทธิภาพการกำจัดฟอสฟอรัสสูงกว่าอัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ 15:35:50 (ร้อยละโดยปริมาตร) อย่างมีนัยสำคัญ แต่ประสิทธิภาพที่อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ 20:40:40 และ 25:45:30 (ร้อยละโดยปริมาตร) มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญส่วนระยะเวลาเก็บกักตะกอนสามารถส่งผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดทีเคเอ็นไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสฟอรัสโดยที่ระยะเวลาเก็บกักตะกอน 20 วัน มีประสิทธิภาพการกำจัดทีเคเอ็นและไนโตรเจนทั้งหมดสูงกว่าที่ระยะเวลาเก็บกักตะกอน 10 และ 15 วัน อย่างมีนัยสำคัญ ในทางตรงกันข้ามประสิทธิภาพการกำจัดฟอสฟอรัสที่ระยะเวลาเก็บกักตะกอน 10 วัน มีค่าสูงกว่าที่ระยะเวลาเก็บกักตะกอน 15 และ 20 วัน อย่างมีนัยสำคัญ แต่ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีมีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญสำหรับทุกระยะเวลาเก็บกักตะกอน ดังนั้นสภาวะที่เหมาะสมของการบำบัดน้ำเสียโรงฆ่าสัตว์ด้วยระบบเอทูโอคือ ที่อัตราส่วนร้อยละของปริมาตรถังปฏิกรณ์ (แอนแอโรบิก:แอนอกซิก:ออกซิก) 25:45:30: (ร้อยละโดยปริมาตร) และมีระยะเวลาเก็บกักตะกอน 10 วัน โดยมีประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดี ทีเคเอ็น ไนโตรเจนทั้งหมด และฟอสฟอรัส ประมาณร้อยละ 97.23, 97.46, 94.87 และ 99.01 ตามลำดับ The objective of this research was to investigate the removal efficiencies of biological organics and nutrient (nitrogen and phosphorus) removals from slaughterhouse wastewater using A2/O (Anaerobic-Anoxic-Oxic) model. The experiment was 32 factorial designs with 9 operating conditions of 3 different proportions of reactor volume (%, Anaerobic:Anoxic:Oxic) of 15:35:50, 20:40:40, and 25:45:30 (% by V) and 3 different values of solid retention times (SRTs) of 10, 15, and 20 days. Results showed that the average COD, TKN, TN, and TP removal efficiencies were in ranges of 96.91-98.65%, 97.46-98.54%, 93.19-97.13%, and 89.74-99.01%, respectively. The average COD, TKN, and TN removal efficiencies did not differ significantly for all proportions of reactor volume (%) (p < 0.05). Mean while the reactor volume of about 20:40:40 and 25:45:30 (% by V) resulted in a significant higher TP removal efficiency than that of reactor volume (%) of 15:35:50 (% by V) but showed no significant difference from those of reactor volume (%) 20:40:40 and 25:45:30 (% by V) (p < 0.05). For SRT, it affected the TKN, TN, and TP removal efficiencies as the SRT of 20 days gave significant higher TKN and TN removal efficiencies than those of SRTs of about 10 and 15 days (p < 0.05). Conversely, SRT of 10 days illustrated the significant higher TP removal efficiency than those of SRTs of 15 and 20 days (p < 0.05). No significant difference of COD removal efficiency was found for all levels of SRTs (p < 0.05). The results suggested that the optimum operating condition of the A2/O system in the treatment of slaughterhouse wastewater was at the reactor volume (%) of 25:45:30 (% by V) and SRT of 10 days, yielding the COD, TKN, TN, and TP removal efficiencies of 97.23%, 97.46%, 94.87%, and 99.01%, respectively. 2011-01-18T09:46:07Z 2011-08-26T08:26:10Z 2017-06-27T02:56:05Z 2011-01-18T09:46:07Z 2011-08-26T08:26:10Z 2017-06-27T02:56:05Z 2554-01-18 2550 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 37, ฉบับที่ 3 (2550), 168-177 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2330 tha Mahidol University 1494846 bytes application/pdf application/pdf วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2550 ก.ย.-ธ.ค;37(3):168-177 |