การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย
การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงอรรถาธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาสำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ประเทศไทย ใน 3 ประเด็นหลัก คือ (1) กระบวนการพัฒนาสำนักงาน ทสจ. (2) ผลการพัฒนา (3) เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2495 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.2495 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การสังเคราะห์ความรู้ การพัฒนาองค์กร สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด Knowledge Synthesis Organization Development Provincial Office Of Natural Resources And Environment Thailand วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health |
spellingShingle |
การสังเคราะห์ความรู้ การพัฒนาองค์กร สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด Knowledge Synthesis Organization Development Provincial Office Of Natural Resources And Environment Thailand วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร Piyathida Tridech Pecra Krugkrunjit การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย |
description |
การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงอรรถาธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาสำนักงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ประเทศไทย ใน 3 ประเด็นหลัก คือ (1) กระบวนการพัฒนาสำนักงาน ทสจ. (2) ผลการพัฒนา (3) เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ รวบรวมข้อมูลย้อนหลังจากรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ. 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์
เนื้อหาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ดำเนินการต่อเนื่องระหว่างปี พ.ศ. 2549-2552 ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาสำนักงาน ทสจ. ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อได้ (1) รูปแบบโครงสร้างการบริหารจัดการสำนักงาน ทสจ. ที่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ปัจจุบันตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานในสำนักงาน ทสจ. (2) กระบวนการดำเนินงานของสำนักงาน ทสจ. และ (3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำนักงาน ทสจ. มีการดำเนินการ 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ (1) มีการประเมินผลการดำเนินงานประจำปีโดยสำนักตรวจและประเมินผล (2) จัดอบรมบุคลากรในสำนักงาน ทสจ. (3)ศึก
ทัศนคติผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการดำเนินงานสำนักงาน ทสจ. และ (4) จักประชุมเชิงปฏิบัติการ 2 ครั้ง เพื่อระดมความคิดเห็นผู้อำนวยการสำนักงาน ทสจ. ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคและผู้ปฏิบัติงานสำนักงาน ทสจ. เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสำนักงาน ทสจ. ซึ่งขั้นตอนทั้ง 4 เป็นไปตามแนวทางการพัฒนาองค์กร และผลที่ได้จากการพัฒนา คือ (1) รูปแบบโครงสร้างการบริหารจัดการสำนักงาน ทสจ. และแนวทางการจัดสรรบุคลากร (2) กระบวนการดำเนินงาน (3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากร และเงื่อนไขแห่งความสำเร็จการพัฒนาองค์กรในอนาคต คือ (1) การสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวง ทส. ความร่วมมือร่วมใจจากบุคลากรทุกฝ่ายในสำนักงาน ทสจ. และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (2) การมรกระบวนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย การพัฒนาองค์กรจะสำเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือจากบุคลากร และการสนับสนุนจากหน่วยงานทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคโดยจัดทำแผนกลยุทธ์การพัฒนาเพื่อความชัดเจนและต่อเนื่องในการพัฒนาสำนักงาน ทสจ. ต่อไป |
author2 |
Piyathida Tridech |
author_facet |
Piyathida Tridech ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร Piyathida Tridech Pecra Krugkrunjit |
format |
Article |
author |
ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร Piyathida Tridech Pecra Krugkrunjit |
author_sort |
ปิยธิดา ตรีเดช |
title |
การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย |
title_short |
การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย |
title_full |
การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย |
title_fullStr |
การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย |
title_full_unstemmed |
การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย |
title_sort |
การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย |
publishDate |
2015 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2495 |
_version_ |
1781415455187009536 |
spelling |
th-mahidol.24952023-04-12T15:28:18Z การสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร:กรณีศึกษาสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประเทศไทย Knowledge synthesis of organization development:A case study of provincial office of natural resources and environment, Thailand ปิยธิดา ตรีเดช พีระ ครึกครื้นจิตร Piyathida Tridech Pecra Krugkrunjit Piyathida Tridech มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข การสังเคราะห์ความรู้ การพัฒนาองค์กร สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด Knowledge Synthesis Organization Development Provincial Office Of Natural Resources And Environment Thailand วารสารสาธารณสุขศาสตร์ Journal of Public Health การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงอรรถาธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ความรู้การพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาสำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ประเทศไทย ใน 3 ประเด็นหลัก คือ (1) กระบวนการพัฒนาสำนักงาน ทสจ. (2) ผลการพัฒนา (3) เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ รวบรวมข้อมูลย้อนหลังจากรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ. 2552 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ เนื้อหาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ดำเนินการต่อเนื่องระหว่างปี พ.ศ. 2549-2552 ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาสำนักงาน ทสจ. ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อได้ (1) รูปแบบโครงสร้างการบริหารจัดการสำนักงาน ทสจ. ที่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ปัจจุบันตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานในสำนักงาน ทสจ. (2) กระบวนการดำเนินงานของสำนักงาน ทสจ. และ (3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำนักงาน ทสจ. มีการดำเนินการ 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ (1) มีการประเมินผลการดำเนินงานประจำปีโดยสำนักตรวจและประเมินผล (2) จัดอบรมบุคลากรในสำนักงาน ทสจ. (3)ศึก ทัศนคติผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการดำเนินงานสำนักงาน ทสจ. และ (4) จักประชุมเชิงปฏิบัติการ 2 ครั้ง เพื่อระดมความคิดเห็นผู้อำนวยการสำนักงาน ทสจ. ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคและผู้ปฏิบัติงานสำนักงาน ทสจ. เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสำนักงาน ทสจ. ซึ่งขั้นตอนทั้ง 4 เป็นไปตามแนวทางการพัฒนาองค์กร และผลที่ได้จากการพัฒนา คือ (1) รูปแบบโครงสร้างการบริหารจัดการสำนักงาน ทสจ. และแนวทางการจัดสรรบุคลากร (2) กระบวนการดำเนินงาน (3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากร และเงื่อนไขแห่งความสำเร็จการพัฒนาองค์กรในอนาคต คือ (1) การสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวง ทส. ความร่วมมือร่วมใจจากบุคลากรทุกฝ่ายในสำนักงาน ทสจ. และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (2) การมรกระบวนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะจากการวิจัย การพัฒนาองค์กรจะสำเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือจากบุคลากร และการสนับสนุนจากหน่วยงานทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคโดยจัดทำแผนกลยุทธ์การพัฒนาเพื่อความชัดเจนและต่อเนื่องในการพัฒนาสำนักงาน ทสจ. ต่อไป The objective of this descriptive research is to synthesize knowledge of organization development: a case study of Provincial Office of Natural Resources and Environment, Ministry of Natural Resources and Environment, Thailand. Three components of synthesis were (1) process of development (2) outputs (3) conditions of success. Secondary documentary data was collected between November-December 2009 by analyzing contents and activities being done during 2549 B.E. - 2552 B.E. Research results indicated that the objectives of organization development were to (1) develop organization structure (2) work performance process and (3) human resources development guidelines. There were four steps of development process namely (1) yearly performance evaluation (2) organized one training program (3) examined stakeholders’ attitude (4) organized 2 brain storming workshops. Outputs of the development were (1) new organization structure (2) work performance process and (3) human resources development guidelines. Condition of successes were (1) supports from central and regional offices and stakeholders and (2) continuous development process. Recommendations from the research are: successive organization development must be supported by both central and regional offices by setting up long term strategic development plan. 2015-04-22T03:02:11Z 2017-06-30T08:40:35Z 2015-04-22T03:02:11Z 2017-06-30T08:40:35Z 2015-04-22 2553 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 3 (2553), 313-319 0125-1678 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2495 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |