การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ William Petersen

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ถึงภาวะการย้ายถิ่น แบบจำ ยอมในประเทศไทย โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับประเภทของการย้ายถิ่น “A General Typology of Migration” ของ William Petersen มาวิเคราะห์ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จากรายงานผลการสำ รวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ.2537 และ พ.ศ.2540 ซึ่งเป็นข้อมูลทุติ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: โยธิน แสวงดี
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
Format: Article
Language:Thai
Published: 2014
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2989
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.2989
record_format dspace
spelling th-mahidol.29892023-04-12T15:40:16Z การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ William Petersen Impelled migration in Thailand: an analysis of William Petersen's migration classical theory โยธิน แสวงดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม การย้ายถิ่น ประชากร ที่อยู่อาศัย Open Access article Journal of Population and Social Studies วารสารประชากรและสังคม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ถึงภาวะการย้ายถิ่น แบบจำ ยอมในประเทศไทย โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับประเภทของการย้ายถิ่น “A General Typology of Migration” ของ William Petersen มาวิเคราะห์ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จากรายงานผลการสำ รวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ.2537 และ พ.ศ.2540 ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิ เมื่อจัดแบบการย้ายถิ่นออกเป็น 2 แบบตามเหตุผลของการย้ายถิ่น การย้ายถิ่นแบบจำ ยอม ได้แก่ 1) ย้ายตามหน้าที่การงาน 2) ย้ายตามครอบครัว 3) ขาดคนดูแล/ต้องดูแลคนอื่น ส่วนการย้ายถิ่นแบบสมัครใจ ได้แก่ ย้ายเพื่อหางานทำต้องการทำงานที่มีรายได้มากกว่า เหตุผลทางการศึกษา การย้ายกลับภูมิลำเนา ฯลฯ ผลการวิเคราะห์พบว่าผู้ย้ายถิ่นภายในประเทศไทยประมาณร้อยละ 30 เป็นการย้ายถิ่นแบบจำยอม ขณะที่มากกว่าร้อยละ 60 เป็นการย้ายถิ่นแบบสมัครใจและอีกประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นการย้ายถิ่นแบบลักษณะอื่น ซึ่งให้ผู้อื่นช่วยตัดสินใจให้ ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ของการย้ายถิ่นภายในจังหวัดเป็นการย้ายถิ่นแบบจำยอม ขณะที่การย้ายเข้าสู่ภาคใต้เป็นการย้ายแบบจำยอมมากที่สุดทั้งเพศหญิงและเพศชาย เมื่อวิเคราะห์ถึงผู้มีบทบาทหลักในการย้ายถิ่นพบว่า เพศชายยังคงเป็นผู้ย้ายถิ่นหลัก (Active Migrant) ขณะที่เพศหญิงเป็นผู้ย้ายถิ่นติดตาม (Passive Migrant) การย้ายเข้าสู่กรุงเทพฯ เป็นการย้ายแบบสมัครใจมากที่สุด ในขณะที่กระแสการย้ายถิ่นจากเมืองสู่เมืองเป็นลักษณะการย้ายถิ่นแบบจำยอมเป็นส่วนใหญ่ ผลการศึกษานี้คาดว่าจะเป็นประโยชน์ ทำให้มีการวิเคราะห์ถึงภาวะการย้ายถิ่นแบบจำยอม (Impelled Migration) ในประเทศไทยมากขึ้น 2014-12-24T05:33:58Z 2017-10-27T02:18:42Z 2014-12-24T05:33:58Z 2017-10-27T02:18:42Z 2014-12-24 2545-07 Article วารสารประชากรและสังคม. ปีที่ 11, ฉบับที่ 1 (2547), 83-95. https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2989 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การย้ายถิ่น
ประชากร
ที่อยู่อาศัย
Open Access article
Journal of Population and Social Studies
วารสารประชากรและสังคม
spellingShingle การย้ายถิ่น
ประชากร
ที่อยู่อาศัย
Open Access article
Journal of Population and Social Studies
วารสารประชากรและสังคม
โยธิน แสวงดี
การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ William Petersen
description การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ถึงภาวะการย้ายถิ่น แบบจำ ยอมในประเทศไทย โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับประเภทของการย้ายถิ่น “A General Typology of Migration” ของ William Petersen มาวิเคราะห์ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จากรายงานผลการสำ รวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ.2537 และ พ.ศ.2540 ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิ เมื่อจัดแบบการย้ายถิ่นออกเป็น 2 แบบตามเหตุผลของการย้ายถิ่น การย้ายถิ่นแบบจำ ยอม ได้แก่ 1) ย้ายตามหน้าที่การงาน 2) ย้ายตามครอบครัว 3) ขาดคนดูแล/ต้องดูแลคนอื่น ส่วนการย้ายถิ่นแบบสมัครใจ ได้แก่ ย้ายเพื่อหางานทำต้องการทำงานที่มีรายได้มากกว่า เหตุผลทางการศึกษา การย้ายกลับภูมิลำเนา ฯลฯ ผลการวิเคราะห์พบว่าผู้ย้ายถิ่นภายในประเทศไทยประมาณร้อยละ 30 เป็นการย้ายถิ่นแบบจำยอม ขณะที่มากกว่าร้อยละ 60 เป็นการย้ายถิ่นแบบสมัครใจและอีกประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นการย้ายถิ่นแบบลักษณะอื่น ซึ่งให้ผู้อื่นช่วยตัดสินใจให้ ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ของการย้ายถิ่นภายในจังหวัดเป็นการย้ายถิ่นแบบจำยอม ขณะที่การย้ายเข้าสู่ภาคใต้เป็นการย้ายแบบจำยอมมากที่สุดทั้งเพศหญิงและเพศชาย เมื่อวิเคราะห์ถึงผู้มีบทบาทหลักในการย้ายถิ่นพบว่า เพศชายยังคงเป็นผู้ย้ายถิ่นหลัก (Active Migrant) ขณะที่เพศหญิงเป็นผู้ย้ายถิ่นติดตาม (Passive Migrant) การย้ายเข้าสู่กรุงเทพฯ เป็นการย้ายแบบสมัครใจมากที่สุด ในขณะที่กระแสการย้ายถิ่นจากเมืองสู่เมืองเป็นลักษณะการย้ายถิ่นแบบจำยอมเป็นส่วนใหญ่ ผลการศึกษานี้คาดว่าจะเป็นประโยชน์ ทำให้มีการวิเคราะห์ถึงภาวะการย้ายถิ่นแบบจำยอม (Impelled Migration) ในประเทศไทยมากขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
โยธิน แสวงดี
format Article
author โยธิน แสวงดี
author_sort โยธิน แสวงดี
title การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ William Petersen
title_short การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ William Petersen
title_full การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ William Petersen
title_fullStr การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ William Petersen
title_full_unstemmed การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ William Petersen
title_sort การย้ายถิ่นแบบจำยอมในประเทศไทย : บทวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีคลาสสิคของ william petersen
publishDate 2014
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/2989
_version_ 1781416744226652160