รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร
โครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุ เพื่อการศึกษาปริมาณวิตามินบี 1 ในอาหารที่กิน และการยอมรับข้าวกล้องของผู้สูงอายุ 55 ปีขึ้นไป จำนวน 60 คน พักอาศัยที่บ้าน สุขภาพปกติ และสมัครใจ วิธีการศึกษาเป็นแบบทดลองให้ผู้สูงอายุกินข้าวกล้องแทนข้าวขาวภายใน 4 สัปดาห์ติดต่อกัน เปรียบเทียบข้อมูลก่อนกินข้...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Research Report |
Published: |
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/30020 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
id |
th-mahidol.30020 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
topic |
ข้าวกล้อง สุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ คุณค่าทางโภชนาการ วิตามินบี 1 |
spellingShingle |
ข้าวกล้อง สุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ คุณค่าทางโภชนาการ วิตามินบี 1 โสภา ธมโชติพงศ์ อรพินท์ บรรจง จินต์ จรูญรักษ์ พัศมัย เอกก้านตรง รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร |
description |
โครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุ เพื่อการศึกษาปริมาณวิตามินบี 1 ในอาหารที่กิน
และการยอมรับข้าวกล้องของผู้สูงอายุ 55 ปีขึ้นไป จำนวน 60 คน พักอาศัยที่บ้าน สุขภาพปกติ และสมัครใจ วิธีการศึกษาเป็นแบบทดลองให้ผู้สูงอายุกินข้าวกล้องแทนข้าวขาวภายใน 4 สัปดาห์ติดต่อกัน
เปรียบเทียบข้อมูลก่อนกินข้าวกล้องและขณะกินข้าวกล้องในสัปดาห์ที่ 4 ใช้วิธีสัมภาษณ์อาหารที่กินย้อนหลัง 24 ชั่วโมงร่วมกับวิธีจดบันทึก เก็บข้อมูล 3 รอบ คือก่อนกินข้าวกล้อง ขณะกินข้าวกล้องสัปดาห์ที่ 2 และที่ 4 รอบละ 3 วันติคต่อกัน เปรียบเทียบผลก่อนและหลังกินข้าวกล่อง 4 สัปดาห์ พบว่าดัชนีมวลกาย (BMI) มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ปกติร้อยละ 52 เป็น 48 ผอมร้อยละ 10 ไม่เปลี่ยนแปลง ท้วมร้อยละ 32 เป็น 37 อ้วนร้อยละ 7 เป็น 5 ก่อนการศึกษาค่า Erythrocyte Thiamin Pyrophosphate (TPP) มีค่าเฉลี่ย 80.44 ± 17.43 ng/ml อยู่ในระดับปกติ ก่อนกินข้าวกล้องมีคนที่ผลการเคาะเข่าผิดปกติร้อยละ 20 มีอาการชาปลายมือปลายเท้าร้อยละ 38 มีอาการบวมร้อยละ 8 เมื่อกินข้าวกล้องแล้ว 4 สัปดาห์ ผลการเคาะเข่าผิดปกติลดลงเหลือร้อยละ 18 มีอาการชาปลายมือปลายเท้าร้อยละ 20 และอาการ บวมร้อยละ 7 และผู้สูงอายุร้อยละ 36.7 รายงานว่าขับถ่ายง่ายขึ้น และจำนวนคนถ่ายอุจจาระทุกวันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 83.3 เป็น 93.3
สารอาหารคำนวณจากการเก็บข้อมูลการบริโภคอาหาร 24 ซม. พบว่าจำนวนผู้สูงอายุร้อยละ 62-95 ได้รับวิตามินเอ บี 1 บี 2 และแคลเซียมน้อยกว่า 70 % RDA โดยเฉลี่ยทั้ง 2 ครั้งไม่แตกต่างกัน พฤติกรรมการกินอาหารที่เป็นแหล่งสำคัญของวิตามินบี 1 พบว่าเนื้อหมูและไข่เป็นอาหารประจำของผู้สูงอายุร้อยละ 88 และ 95 ตามลำดับ ปริมาณเฉลี่ยต่อเดือนเนื้อหมู 302-394 กรัม ไข่ 9 ฟอง ปริมาณข้าวกล้องสุกที่กินแต่ละครั้งเปรียบเทียบกับข้าวขาวสุกไม่แตกต่างกัน ในทำนองเดียวกันค่าเฉลี่ยข้าวสุกที่กินต่อวันทั้ง 3 ครั้ง ไม่แตกต่างกันคือ 462, 470 และ 465 กรัม ตามลำดับ ร้อยละ 85.7 รู้สึกพอใจและคิดว่าข้าวกล้องมีประโยชน์มากกว่าข้าวขาว ปริมาณสารอาหารที่ได้รับใกล้เคียงกันทั้งก่อนกินข้าวกล้องและขณะกินข้าวกล้องสัปดาห์ที่ 2 และ 4 คือพลังงาน 1489 ± 494, 1426 ± 405 และ 1424 ± 448 กิโลกรัมต่อวันต่อคนโปรตีน 45 ±15, 42± 15, กรัม และไขมัน 34 ± 14, 31 ± 12, 31 ± 15 ค่ามัธยฐานของวิตามินบี 1 คือ 0.57, 0.61, 0.65 มิลลิกรัม ตามลำดับ |
author2 |
ธรา วิรยะพานิช |
author_facet |
ธรา วิรยะพานิช โสภา ธมโชติพงศ์ อรพินท์ บรรจง จินต์ จรูญรักษ์ พัศมัย เอกก้านตรง |
format |
Research Report |
author |
โสภา ธมโชติพงศ์ อรพินท์ บรรจง จินต์ จรูญรักษ์ พัศมัย เอกก้านตรง |
author_sort |
โสภา ธมโชติพงศ์ |
title |
รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร |
title_short |
รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร |
title_full |
รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร |
title_fullStr |
รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร |
title_full_unstemmed |
รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร |
title_sort |
รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร |
publishDate |
2012 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/30020 |
_version_ |
1781414506299129856 |
spelling |
th-mahidol.300202023-04-12T15:24:27Z รายงานวิจัยโครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มวิตามินบี 1 ในอาหาร Promotion of brown rice consumption to increase thiamin intake among the elderly โสภา ธมโชติพงศ์ อรพินท์ บรรจง จินต์ จรูญรักษ์ พัศมัย เอกก้านตรง ธรา วิรยะพานิช ประไพศรี ศิริจักรวาล วัฒนา เทียมปฐม ข้าวกล้อง สุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ คุณค่าทางโภชนาการ วิตามินบี 1 โครงการส่งเสริมการบริโภคข้าวกล้องในผู้สูงอายุ เพื่อการศึกษาปริมาณวิตามินบี 1 ในอาหารที่กิน และการยอมรับข้าวกล้องของผู้สูงอายุ 55 ปีขึ้นไป จำนวน 60 คน พักอาศัยที่บ้าน สุขภาพปกติ และสมัครใจ วิธีการศึกษาเป็นแบบทดลองให้ผู้สูงอายุกินข้าวกล้องแทนข้าวขาวภายใน 4 สัปดาห์ติดต่อกัน เปรียบเทียบข้อมูลก่อนกินข้าวกล้องและขณะกินข้าวกล้องในสัปดาห์ที่ 4 ใช้วิธีสัมภาษณ์อาหารที่กินย้อนหลัง 24 ชั่วโมงร่วมกับวิธีจดบันทึก เก็บข้อมูล 3 รอบ คือก่อนกินข้าวกล้อง ขณะกินข้าวกล้องสัปดาห์ที่ 2 และที่ 4 รอบละ 3 วันติคต่อกัน เปรียบเทียบผลก่อนและหลังกินข้าวกล่อง 4 สัปดาห์ พบว่าดัชนีมวลกาย (BMI) มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ปกติร้อยละ 52 เป็น 48 ผอมร้อยละ 10 ไม่เปลี่ยนแปลง ท้วมร้อยละ 32 เป็น 37 อ้วนร้อยละ 7 เป็น 5 ก่อนการศึกษาค่า Erythrocyte Thiamin Pyrophosphate (TPP) มีค่าเฉลี่ย 80.44 ± 17.43 ng/ml อยู่ในระดับปกติ ก่อนกินข้าวกล้องมีคนที่ผลการเคาะเข่าผิดปกติร้อยละ 20 มีอาการชาปลายมือปลายเท้าร้อยละ 38 มีอาการบวมร้อยละ 8 เมื่อกินข้าวกล้องแล้ว 4 สัปดาห์ ผลการเคาะเข่าผิดปกติลดลงเหลือร้อยละ 18 มีอาการชาปลายมือปลายเท้าร้อยละ 20 และอาการ บวมร้อยละ 7 และผู้สูงอายุร้อยละ 36.7 รายงานว่าขับถ่ายง่ายขึ้น และจำนวนคนถ่ายอุจจาระทุกวันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 83.3 เป็น 93.3 สารอาหารคำนวณจากการเก็บข้อมูลการบริโภคอาหาร 24 ซม. พบว่าจำนวนผู้สูงอายุร้อยละ 62-95 ได้รับวิตามินเอ บี 1 บี 2 และแคลเซียมน้อยกว่า 70 % RDA โดยเฉลี่ยทั้ง 2 ครั้งไม่แตกต่างกัน พฤติกรรมการกินอาหารที่เป็นแหล่งสำคัญของวิตามินบี 1 พบว่าเนื้อหมูและไข่เป็นอาหารประจำของผู้สูงอายุร้อยละ 88 และ 95 ตามลำดับ ปริมาณเฉลี่ยต่อเดือนเนื้อหมู 302-394 กรัม ไข่ 9 ฟอง ปริมาณข้าวกล้องสุกที่กินแต่ละครั้งเปรียบเทียบกับข้าวขาวสุกไม่แตกต่างกัน ในทำนองเดียวกันค่าเฉลี่ยข้าวสุกที่กินต่อวันทั้ง 3 ครั้ง ไม่แตกต่างกันคือ 462, 470 และ 465 กรัม ตามลำดับ ร้อยละ 85.7 รู้สึกพอใจและคิดว่าข้าวกล้องมีประโยชน์มากกว่าข้าวขาว ปริมาณสารอาหารที่ได้รับใกล้เคียงกันทั้งก่อนกินข้าวกล้องและขณะกินข้าวกล้องสัปดาห์ที่ 2 และ 4 คือพลังงาน 1489 ± 494, 1426 ± 405 และ 1424 ± 448 กิโลกรัมต่อวันต่อคนโปรตีน 45 ±15, 42± 15, กรัม และไขมัน 34 ± 14, 31 ± 12, 31 ± 15 ค่ามัธยฐานของวิตามินบี 1 คือ 0.57, 0.61, 0.65 มิลลิกรัม ตามลำดับ Background : The proportion of elderly is increasing in the Thai population. Planning for health promotion is needed for this growing population. As rice is the staple food for Thai people, and it is known that brown rice contains higher amounts of vitamin B1 and fiber, consumption of brown rice is particularly beneficial for the elderly population. Objective : This study aimed to : 1) promote brown rice consumption and study the quantity of intake of vitamin B1 and other vitamins and minerals among elderly Thais 2) study the acceptance of brown rice among elderly Thais. Design : 60 healthy elders (over 55 years of age) volunteered to participate in the study. The study used an experimental design. Data were collected on health conditions, food frequency, nutritional status, and clinical examinations prior to initiating brown rice consumption, and following 4 weeks of brown rice consumption. A 24-hour recall of 3 consecutive days was conducted prior to initiating brown rice consumption (round I), during the second week (round II), and during the 4th week (round III) of brown rice consumption. Results : Prior to consuming the brown rice, BMI (indicator of nutritional status) of 52% of the subjects was normal, 32% subjects were overweight, and 7% were obsess. Abnormal knee reflexes were observed in 20% subjects, 38% complained of numbness, and 8% were edemic (indicators of vitamin B1 deficiency). Mean crythrocyte thiamine pyrophosphate (TPP) status was normal (x = 80.44 ± 17.43 ng/ml) in all subjects. At the 4th week of brown rice consumption, BMI was normal in 48% of subjects, 73% were overweight, and 5% obese. Abnormal knee reflexes were observed in 18% of subjects, 20% complained of numbness, and 7% were edemic. Reduced symptoms of constipation were found in 36.7% of subjects, who reported that feces were easier to pass. The number of subjects who reported daily fecal evacuation increased from 83.3% to 93.3% No significant difference was found between mean nutrient intake per person per day between the 3 rounds (energy = 1489 ± 494, 1426 ± 405, 142 ± 448 kcal, fat 34 ± 14, 31 ± 12,31 ± 15 gm, protein 45 ± 15, 42 ± 15, 42 ± 15 gm, median of thiamine 0.57, 0.61, 0.65 mg). Approximately 62%-95% of elderly sample consumed less than 70% RDA for vitamins A, B1, B2, and calcium. 88%-95% of subjects reported a high frequency of consumption of pork and eggs, both vitamin B1-rich foods. The range of pork consumption per month was 302-394 gm. Approximately 9 eggs per person per month were consumed. There was no significant difference in serving size of cooked, polished rice in round I and cooked brown rice in round II and III (462 gm, 470 gm, and 465 gm, respectively). 85.2% of subjects reported that they appreciated the introduction of brown rice into their diet, and knowing that brown rice is more nutritious than polished white rice. ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหิดล 2012-12-20T09:42:39Z 2018-09-26T03:37:07Z 2012-12-20T09:42:39Z 2018-09-26T03:37:07Z 2555-12-13 2544 Research Report https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/30020 มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |