การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อพัฒนาและนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย และร้อยละของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การดำเน...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/30129 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.30129 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.301292023-03-30T18:21:58Z การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก Implementation of Nutritional Promotion Guidelines for Preschool Children with Overweight in a Childcare Centre สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ การส่งเสริมโภชนาการ เด็กก่อนวัยเรียน การมีส่วนร่วม Open Access article วารสารสภาการพยาบาล Thai Journal of Nursing Council วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อพัฒนาและนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย และร้อยละของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การดำเนินการวิจัย: แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1) ระยะพัฒนาแนวทางการส่งเสริมโภชนาการ โดยการสนทนากลุ่มของครู/ผู้ดูแลเด็กและแม่ครัวรวม 10 คน ผู้ปกครอง 3 คน พยาบาล 1 คน และ 2) ระยะนำแนวทางมาใช้ตามกระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของ Kolb กับผู้ปกครองของเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย และน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กด้วยสถิติWilcoxon Signed Ranks Test ผลการวิจัย ระยะที่ 1 ได้แนวทางการส่งเสริมโภชนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และการโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน ระยะที่ 2 พบว่าสาเหตุของภาวะโภชนาการเกินคือ ขาดความรู้เกี่ยวกับโภชนาการสำหรับเด็กและการเลี้ยงดูแบบตามใจ การนำใช้แนวทางไปใช้พบว่า พฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย และน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมไม่แตกต่างกัน (p>.05) ข้อเสนอแนะ การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็กที่มีโภชนาการเกินควรให้สมาชิกในครอบครัวทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางของตนเอง และมีข้อตกลงร่วมกันในการดูแลเด็ก วารสารสภาการพยาบาล 2560; 32(4) 120-133 Objectives: To develop and implement nutritional promotion guidelines for preschoolchildren with overweight in a childcare centre in central Thailand, and to compare theirfood consumption habits, physical activities, and percent of weight for height. Design: Action research. Methodology: The programme consisted of 2 phases: (1) the development of nutritional promotion guidelines based on input obtained from focus-group discussions with 10 people (childcare staff, teachers and cooks), 3 parents/guardians and 1 nurse; and (2) the implementation of the guidelines with the parents/guardians of 10 overweightaffected children, using Kolb’s experiential learning cycle approach. The qualitative data were analysed using content analysis. The children’s food consumption habits, physical activities and percent of weight for height before and after programme implementation were compared based on Wilcoxon Signed Rank Test. Results: After the development of the nutritional promotion guidelines for children with overweight in phase (1), the outcomes of programme implementation in phase (2) revealed a lack of nutritional knowledge and child-spoiling practices as the main causes of overweight in children. However, the children’s food consumption habits, physical activities and percent of weight for height before and after their participation in the programme were not significantly different (p > .05). Recommendations: All members of an overweight-affected child’s family are advised to take part in developing their own methods of nutritional promotion and create a mutual child-care agreement. Thai Journal of Nursing Council 2017; 32(4) 120-133 ได้รับทุนจากสำ นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้เขียนหลัก: รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล E-mail apawan.noo@mahidol.ac.thฃพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านราชคราม อำ เภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ครู ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านราชคราม อำ เภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2018-10-04T09:19:19Z 2018-10-04T09:19:19Z 2561-10-04 2560 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 32, ฉบับที่ 4 (ต.ค - ธ.ค. 2560), 121 - 133 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/30129 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การส่งเสริมโภชนาการ เด็กก่อนวัยเรียน การมีส่วนร่วม Open Access article วารสารสภาการพยาบาล Thai Journal of Nursing Council |
spellingShingle |
การส่งเสริมโภชนาการ เด็กก่อนวัยเรียน การมีส่วนร่วม Open Access article วารสารสภาการพยาบาล Thai Journal of Nursing Council สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
description |
วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อพัฒนาและนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย และร้อยละของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
การดำเนินการวิจัย: แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ
1) ระยะพัฒนาแนวทางการส่งเสริมโภชนาการ โดยการสนทนากลุ่มของครู/ผู้ดูแลเด็กและแม่ครัวรวม 10 คน ผู้ปกครอง 3 คน พยาบาล 1 คน และ
2) ระยะนำแนวทางมาใช้ตามกระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของ Kolb กับผู้ปกครองของเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย และน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กด้วยสถิติWilcoxon Signed Ranks Test
ผลการวิจัย ระยะที่ 1 ได้แนวทางการส่งเสริมโภชนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และการโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน ระยะที่ 2 พบว่าสาเหตุของภาวะโภชนาการเกินคือ ขาดความรู้เกี่ยวกับโภชนาการสำหรับเด็กและการเลี้ยงดูแบบตามใจ การนำใช้แนวทางไปใช้พบว่า พฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย และน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมไม่แตกต่างกัน (p>.05)
ข้อเสนอแนะ การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็กที่มีโภชนาการเกินควรให้สมาชิกในครอบครัวทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางของตนเอง และมีข้อตกลงร่วมกันในการดูแลเด็ก
วารสารสภาการพยาบาล 2560; 32(4) 120-133 |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ |
format |
Article |
author |
สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ |
author_sort |
สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ |
title |
การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
title_short |
การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
title_full |
การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
title_fullStr |
การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
title_full_unstemmed |
การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
title_sort |
การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/30129 |
_version_ |
1763490275617931264 |