อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัย การรับรู้ความรุนแรงของอาการ การสนับสนุนทางสังคม ต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย และอิทธิพลของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังรูปแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงความสัมพันธ์พยากรณ์ วิธีดำเนินงานวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อมรรัตน์ นาคละมัย, Amornrat Naklamai, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, Doungrut Wattanakitkrileart, คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, Kanaungnit Pongthavornkamol, เจริญ ชูโชติถาวร, Charoen Chuchottaworn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3338
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.3338
record_format dspace
spelling th-mahidol.33382023-03-31T10:13:41Z อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง The Influences of Perceived Severity, Social Support, and Uncertainty in Illness on Health Status of Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease อมรรัตน์ นาคละมัย Amornrat Naklamai ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ Doungrut Wattanakitkrileart คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล Kanaungnit Pongthavornkamol เจริญ ชูโชติถาวร Charoen Chuchottaworn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ภาวะสุขภาพ ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย การสนับสนุนทางสังคม การรับรู้ความรุนแรงของอาการ Open Access article วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัย การรับรู้ความรุนแรงของอาการ การสนับสนุนทางสังคม ต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย และอิทธิพลของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังรูปแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงความสัมพันธ์พยากรณ์ วิธีดำเนินงานวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเข้ารับการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกสถาบันโรคทรวงอก จังหวัดนนทบุรี จำนวน 85 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินการรับรู้ความรุนแรงของอาการแบบวัดความช่วยเหลือทางสังคมแบบพหุมิติ แบบสอบถามความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและแบบสอบถามภาวะสุขภาพเกี่ยวกับปัญหาการหายใจของเซ็นต์จอร์จ (St.George) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการวิจัย: พบว่าการรับรู้ความรุนแรงของอาการไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย (r = - .1, p > .05)การสนับสนุนทางสังคมสามารถทำนายความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยได้ร้อยละ 9.4 (R2= 0.094, p< .05) และความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยมีอำนาจในการทำนายภาวะสุขภาพในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้ร้อยละ 9.3 (R2= 0.093, p< .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ควรหาแนวทางในการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมและการจัดการกับอาการหายใจลำบาก เพื่อลดความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยทั้งในด้านความคลุมเครือเกี่ยวกับภาวะการเจ็บป่วยและด้านการไม่สามารถทำนายการเจ็บป่วย การรักษาและผลของการรักษา โดยการพัฒนาโปรแกรมการให้ความรู้ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีประสิทธิภาพหรือการส่งเสริมสุขภาพผู้ดูแล และบุคลากรสุขภาพซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยมีภาวะสุขภาพดี Purpose: This research investigated the influences of factors related to perceived severity, and social support on uncertainty in illness and uncertainty in illness on health status of patients with chronic obstructive pulmonary disease. Design: Correlational predictive research. Methods: The study sample consisted of 85 patients with chronic obstructive pulmonary disease who received treatment at the respiratory disease unit, and outpatient department, Chest Disease Institute, Nontaburi Province. Data were collected through 5 instruments: a demographic characteristics questionnaire; a perceived severity assessment questionnaire; the Multidimensional Scale of Perceived Social Support; the Mishel Uncertainty Inventory Scale; and the St. George’s Respiratory Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation coefficient, and multiple regression analysis. Main findings: The results revealed that there was no relationship between perceived severity and uncertainty in illness (r = - .1, p > .05); that social support could predict uncertainty in illness by 9.4% (R2 = .094, p < .05); and uncertainty in illness could predict health status in patients with chronic obstructive pulmonary disease by 9.3% (R2 = .093, p < .05). Conclusion and recommendations: Based on the study findings, it is recommended that guidelines be devised to promote social support to reduce uncertainty in illness regarding ambiguity and unpredictability so as to enhance the health status of patients with chronic obstructive pulmonary disease 2018-01-17T16:22:27Z 2018-01-17T16:22:27Z 2018-01-17 2011 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2554), 46-55 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3338 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ภาวะสุขภาพ
ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย
การสนับสนุนทางสังคม
การรับรู้ความรุนแรงของอาการ
Open Access article
spellingShingle โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ภาวะสุขภาพ
ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย
การสนับสนุนทางสังคม
การรับรู้ความรุนแรงของอาการ
Open Access article
อมรรัตน์ นาคละมัย
Amornrat Naklamai
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
Doungrut Wattanakitkrileart
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
เจริญ ชูโชติถาวร
Charoen Chuchottaworn
อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัย การรับรู้ความรุนแรงของอาการ การสนับสนุนทางสังคม ต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย และอิทธิพลของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังรูปแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงความสัมพันธ์พยากรณ์ วิธีดำเนินงานวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเข้ารับการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกสถาบันโรคทรวงอก จังหวัดนนทบุรี จำนวน 85 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินการรับรู้ความรุนแรงของอาการแบบวัดความช่วยเหลือทางสังคมแบบพหุมิติ แบบสอบถามความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและแบบสอบถามภาวะสุขภาพเกี่ยวกับปัญหาการหายใจของเซ็นต์จอร์จ (St.George) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการวิจัย: พบว่าการรับรู้ความรุนแรงของอาการไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย (r = - .1, p > .05)การสนับสนุนทางสังคมสามารถทำนายความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยได้ร้อยละ 9.4 (R2= 0.094, p< .05) และความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยมีอำนาจในการทำนายภาวะสุขภาพในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้ร้อยละ 9.3 (R2= 0.093, p< .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ควรหาแนวทางในการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมและการจัดการกับอาการหายใจลำบาก เพื่อลดความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยทั้งในด้านความคลุมเครือเกี่ยวกับภาวะการเจ็บป่วยและด้านการไม่สามารถทำนายการเจ็บป่วย การรักษาและผลของการรักษา โดยการพัฒนาโปรแกรมการให้ความรู้ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีประสิทธิภาพหรือการส่งเสริมสุขภาพผู้ดูแล และบุคลากรสุขภาพซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยมีภาวะสุขภาพดี
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
อมรรัตน์ นาคละมัย
Amornrat Naklamai
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
Doungrut Wattanakitkrileart
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
เจริญ ชูโชติถาวร
Charoen Chuchottaworn
format Article
author อมรรัตน์ นาคละมัย
Amornrat Naklamai
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
Doungrut Wattanakitkrileart
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
เจริญ ชูโชติถาวร
Charoen Chuchottaworn
author_sort อมรรัตน์ นาคละมัย
title อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_short อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_full อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_fullStr อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_full_unstemmed อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_sort อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของอาการการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/3338
_version_ 1764209859097526272