การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ
ข้อมูลสถิติผู้สูงอายุในประเทศไทยชี้ให้เห็นว่า ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว ประเทศไทยได้มีการบัญญัติพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 โดยกำหนดให้ผู้สูงอายุมีสิทธิที่ได้รับ การคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนในด้านต่างๆ เช่น บริการสุขภาพ บริการด้านสังคม การช่วยเหลือ หรือยกเว้นค่าบริการสาธารณ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36881 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.36881 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.368812023-03-31T01:04:20Z การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ Review of Law & Policy toward Health Care Management For Senior Citizen ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ Chardsumon Prutipinyo มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข ผู้สูงอายุ กฎหมายผู้สูงอายุ นโยบายด้านผู้สูงอายุ การจัดการสุขภาพ Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal ข้อมูลสถิติผู้สูงอายุในประเทศไทยชี้ให้เห็นว่า ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว ประเทศไทยได้มีการบัญญัติพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 โดยกำหนดให้ผู้สูงอายุมีสิทธิที่ได้รับ การคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนในด้านต่างๆ เช่น บริการสุขภาพ บริการด้านสังคม การช่วยเหลือ หรือยกเว้นค่าบริการสาธารณะต่างๆ การได้รับการสงเคราะห์ในด้านที่อยู่อาศัย เบี้ยยังชีพ เป็นต้น มี การลดหย่อนด้านภาษีให้กับผู้บริจาคเงินหรือทรัพย์สินแก่กองทุน รวมทั้งการลดหย่อนภาษีให้กับผู้ อุปการะบุพการี จากกฎหมายสู่การจัดการดูแลผู้สูงอายุ มีกลไกการพัฒนานโยบายสำหรับผู้สูงอายุของ ประเทศไทย มี 3 ระดับ คือ 1) ในระดับชาติ มีคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติที่ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2549 ตามแนวทางการพัฒนานโยบายแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) ในระดับ กระทรวง กระทรวงที่เป็นหลักในการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุคือ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ และ 3) ในระดับปฏิบัติการ หน่วยงานส่วนภูมิภาค พัฒนาบริการตามกรอบและการสนับสนุนวิชาการ จากหน่วยงานส่วนกลาง ภาพรวมจากกฎหมายสู่ การจัดการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุต้องทำแบบองค์รวม และบูรณาการทั้งในมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง การจัดการความเข้มแข็งชุมชนให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุ โดยส่งเสริมและ พัฒนาบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุ The proportion of the elderly indicated that Thailand already entered the ageing society. Thailand enacted the Seniors Citizens Act B.E. 2546 (in 2003). This law requires that seniors citizens are entitled to have protection, promotion and support in areas such as health services, social services, assisting or exemption various public services; they should receive welfare in housing, living allowance etc. Tax exemption for those who donate money or property to elderly fund, and to those who take care of their parents/elderly. The mechanism of policy development for seniors has three levels: 1) At the national level with the National Committee for the Elderly which was founded in B.E. 2549 according to guidelines in developing integrated policy approach between the various departments. 2) At the ministry level, the main ministries provide services for elder are Ministry of Public Health and Ministry of Social Development and Human Security and 3) At the operating level, Regional agencies develop services according to framework and technical support which come from central agencies. Overview of legislation to manage for health care services for the elderly, needs to be done wholistically and integration in terms of social, economic and political management strengthening the community to contribute to the development of healthy elderly, by promoting and developing the role of local administration in the development of healthy elderly. 2018-11-28T04:25:19Z 2018-11-28T04:25:19Z 2561-11-28 2558 Article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2558), 149-163 2408-249X https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36881 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ผู้สูงอายุ กฎหมายผู้สูงอายุ นโยบายด้านผู้สูงอายุ การจัดการสุขภาพ Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal |
spellingShingle |
ผู้สูงอายุ กฎหมายผู้สูงอายุ นโยบายด้านผู้สูงอายุ การจัดการสุขภาพ Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ Chardsumon Prutipinyo การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ |
description |
ข้อมูลสถิติผู้สูงอายุในประเทศไทยชี้ให้เห็นว่า ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว
ประเทศไทยได้มีการบัญญัติพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 โดยกำหนดให้ผู้สูงอายุมีสิทธิที่ได้รับ
การคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนในด้านต่างๆ เช่น บริการสุขภาพ บริการด้านสังคม การช่วยเหลือ
หรือยกเว้นค่าบริการสาธารณะต่างๆ การได้รับการสงเคราะห์ในด้านที่อยู่อาศัย เบี้ยยังชีพ เป็นต้น มี
การลดหย่อนด้านภาษีให้กับผู้บริจาคเงินหรือทรัพย์สินแก่กองทุน รวมทั้งการลดหย่อนภาษีให้กับผู้
อุปการะบุพการี
จากกฎหมายสู่การจัดการดูแลผู้สูงอายุ มีกลไกการพัฒนานโยบายสำหรับผู้สูงอายุของ
ประเทศไทย มี 3 ระดับ คือ 1) ในระดับชาติ มีคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติที่ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
2549 ตามแนวทางการพัฒนานโยบายแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) ในระดับ
กระทรวง กระทรวงที่เป็นหลักในการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุคือ กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ และ 3) ในระดับปฏิบัติการ หน่วยงานส่วนภูมิภาค
พัฒนาบริการตามกรอบและการสนับสนุนวิชาการ จากหน่วยงานส่วนกลาง ภาพรวมจากกฎหมายสู่
การจัดการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุต้องทำแบบองค์รวม และบูรณาการทั้งในมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ
และการเมือง การจัดการความเข้มแข็งชุมชนให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุ โดยส่งเสริมและ
พัฒนาบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ Chardsumon Prutipinyo |
format |
Article |
author |
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ Chardsumon Prutipinyo |
author_sort |
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ |
title |
การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ |
title_short |
การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ |
title_full |
การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ |
title_fullStr |
การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ |
title_full_unstemmed |
การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ |
title_sort |
การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36881 |
_version_ |
1763495244572131328 |