การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี

งานศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการปฏิบัติการฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ของผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีโดยตัวอย่างในการศึกษา คือ ผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 164 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ปฏิบัติกา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ไตรเทพ โดษะนันท์, ฉัตรสุมน พฤฒิภญโญ, สุรชาติณ หนองคาย, นิทิศน์ ศิริโชติรัตน์, Traitep Dosanant, Chardsumon Prutipinyo, Surachart Na Nongkhai, Nithat Sirichotiratana
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36889
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.36889
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้ปฏิบัติการ
การปฏิบัติทางการแพทย์ฉุกเฉิน
พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
Open Access article
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
spellingShingle ผู้ปฏิบัติการ
การปฏิบัติทางการแพทย์ฉุกเฉิน
พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
Open Access article
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
ไตรเทพ โดษะนันท์
ฉัตรสุมน พฤฒิภญโญ
สุรชาติณ หนองคาย
นิทิศน์ ศิริโชติรัตน์
Traitep Dosanant
Chardsumon Prutipinyo
Surachart Na Nongkhai
Nithat Sirichotiratana
การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี
description งานศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการปฏิบัติการฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ของผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีโดยตัวอย่างในการศึกษา คือ ผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 164 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติการโดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านความรู้ของผู้ปฏิบัติการเกี่ยวกับ พ.ร.บ. พบว่า ผู้ปฏิบัติการมีระดับความรู้โดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านทัศนคติพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 56.9 ด้านปัจจัยจูงใจพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านปัจจัยบำรุงรักษา พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตาม พ.ร.บ.โดยรวมในทางบวก (r = 0.253) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.001) ทัศนคติโดยรวมมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตาม พ.ร.บ. ในทางบวก (r = 0.168) อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.034) ปัจจัยจูงใจโดยรวมมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตามพ.ร.บ. โดยรวมในทางบวก (r = 0.348) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) มีค่าความแกร่งที่ร้อยละ 23.6 (R² = 0.236) มีตัวแปรที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ตาม พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ได้แก่ ความรู้ ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยบำรุงรักษา งานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้สำนักงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดปทุมธานี ควรมีการส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดปทุมธานีมีความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการแพทย์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มากขึ้นรวมทั้งการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีให้กับผู้ปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
ไตรเทพ โดษะนันท์
ฉัตรสุมน พฤฒิภญโญ
สุรชาติณ หนองคาย
นิทิศน์ ศิริโชติรัตน์
Traitep Dosanant
Chardsumon Prutipinyo
Surachart Na Nongkhai
Nithat Sirichotiratana
format Article
author ไตรเทพ โดษะนันท์
ฉัตรสุมน พฤฒิภญโญ
สุรชาติณ หนองคาย
นิทิศน์ ศิริโชติรัตน์
Traitep Dosanant
Chardsumon Prutipinyo
Surachart Na Nongkhai
Nithat Sirichotiratana
author_sort ไตรเทพ โดษะนันท์
title การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี
title_short การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี
title_full การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี
title_fullStr การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี
title_full_unstemmed การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี
title_sort การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36889
_version_ 1763489350510706688
spelling th-mahidol.368892023-03-30T12:19:45Z การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี Medical Emergency Practices according to Medical Emergency Act, 2551 B.E. of Operators in Pathumthani Province Area ไตรเทพ โดษะนันท์ ฉัตรสุมน พฤฒิภญโญ สุรชาติณ หนองคาย นิทิศน์ ศิริโชติรัตน์ Traitep Dosanant Chardsumon Prutipinyo Surachart Na Nongkhai Nithat Sirichotiratana มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข ผู้ปฏิบัติการ การปฏิบัติทางการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal งานศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการปฏิบัติการฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ของผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีโดยตัวอย่างในการศึกษา คือ ผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 164 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติการโดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านความรู้ของผู้ปฏิบัติการเกี่ยวกับ พ.ร.บ. พบว่า ผู้ปฏิบัติการมีระดับความรู้โดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านทัศนคติพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 56.9 ด้านปัจจัยจูงใจพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านปัจจัยบำรุงรักษา พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตาม พ.ร.บ.โดยรวมในทางบวก (r = 0.253) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.001) ทัศนคติโดยรวมมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตาม พ.ร.บ. ในทางบวก (r = 0.168) อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.034) ปัจจัยจูงใจโดยรวมมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตามพ.ร.บ. โดยรวมในทางบวก (r = 0.348) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) มีค่าความแกร่งที่ร้อยละ 23.6 (R² = 0.236) มีตัวแปรที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ตาม พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ได้แก่ ความรู้ ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยบำรุงรักษา งานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้สำนักงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดปทุมธานี ควรมีการส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดปทุมธานีมีความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการแพทย์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มากขึ้นรวมทั้งการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีให้กับผู้ปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง This study is descriptive research which has aim to examine the medical emergency practices according to Medical Emergency Act, 2551 B.E., of operators in Pathumthani province area. One hundred and sixty-four operators in Pathumthani province area selected for the study. The study found emergency medical operators according to Medical Emergency Act, 2551 B.E., in Pathumthani province were good level of operation. The overall knowledge of operators about the Act was good level. The attitude of operators was moderate level, 56.9 percent. The motivation of operators was good level and maintenance factor were moderate level. The knowledge of the Medical Emergency Act, 2551 B.E., has correlation with medical emergency operation according to the Act in positive statistically significant (r = 0.253, p = 0.001). The overall attitude has correlation with medical emergency operation according to the Act in positive statistically significant (r = 0.168, p = 0.034). The overall motivation factors have correlation with medical emergency operation according to the Act in positive statistically significant (r = 0.348, p = 0.000) and the robust value was 23.6 percent (R² = 0.236). The factors influencing to emergency medical operation according to Medical Emergency Act, 2551 B.E., was knowledge, motivation factors and maintenance factors. The research has recommended to the Office Develops Medical Profession Emergency Pathumthani System should be supported the emergency medical operators in Pathumthani province have knowledge about the Medical Emergency Act, 2551 B.E., include create a positive attitude to operators, successively. 2018-11-29T02:10:37Z 2018-11-29T02:10:37Z 2561-11-29 2559 Article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 2, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2559), 31-43 2408-249X https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36889 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf