การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจใช้บริการข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการรับรู้สิทธิการรักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มาใช้บริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลศิริราช ขนาดตัวอย่างจำนวน 2...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุรางคนา สมันเลาะห์, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์, สุธี อยู่สถาพร, นพดล โสภารัตนาไพศาล, Surangkana Samanloh, Chardsumon Prutipinyo, Nithat Sirichotiratana, Suthee U-sathaporn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36893
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.36893
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอน
ผู้ป่วยโรคมะเร็ง
สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
Open Access article
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
spellingShingle การรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอน
ผู้ป่วยโรคมะเร็ง
สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
Open Access article
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
สุรางคนา สมันเลาะห์
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์
สุธี อยู่สถาพร
นพดล โสภารัตนาไพศาล
Surangkana Samanloh
Chardsumon Prutipinyo
Nithat Sirichotiratana
Suthee U-sathaporn
การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช
description การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจใช้บริการข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการรับรู้สิทธิการรักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มาใช้บริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลศิริราช ขนาดตัวอย่างจำนวน 213 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ป่วยที่ใช้สิทธิตามขั้นตอน จำนวน 142 คน และกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้สิทธิข้ามขั้นตอน จำนวน 71 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ผลการศึกษา พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มที่ใช้สิทธิตามขั้นตอนมีการรับรู้ขั้นตอนการใช้สิทธิ การรักษาอยู่ในระดับดี แต่การใช้สิทธิในภาวะฉุกเฉินและกรณีป่วยเป็นโรคเฉพาะในระดับปานกลาง แต่กลุ่มผู้ป่วยที่ใช้สิทธิข้ามขั้นตอน มีการรับรู้ขั้นตอนการใช้สิทธิ การรักษาอยู่ในระดับดี แต่การใช้สิทธิในภาวะฉุกเฉินและกรณีป่วยเป็นโรคเฉพาะในระดับต่ำ การยอมรับและเชื่อถือต่อแพทย์และโรงพยาบาลศิริราช ร้อยละ 91.2 การตัดสินใจใช้บริการข้ามขั้นตอนมีปัจจัยหลายด้าน การรับรู้สิทธิขั้นพื้นฐานทางสุขภาพ การรับรู้บริการทางสุขภาพที่สามารถใช้ในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า รวมถึงการรับรู้สถานพยาบาลที่สิทธิเข้ารับบริการรักษาพยาบาลในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจในการใช้บริการข้ามขั้นตอนการรักษาตามสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้สถานภาพสมรส รายได้ ค่าใช้จ่าย ปัจจัยทางสาธารณูปโภคและการเจ็บป่วยครั้งล่าสุด ก็มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจในการใช้บริการข้ามขั้นตอนการรักษาตามสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากผลการวิจัย จึงควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลของโครงการหลักประกันสุขภาพเพิ่มขึ้นในทุกด้าน เพื่อลดปัญหาการตัดสินใจในการใช้บริการข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็ง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
สุรางคนา สมันเลาะห์
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์
สุธี อยู่สถาพร
นพดล โสภารัตนาไพศาล
Surangkana Samanloh
Chardsumon Prutipinyo
Nithat Sirichotiratana
Suthee U-sathaporn
format Article
author สุรางคนา สมันเลาะห์
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์
สุธี อยู่สถาพร
นพดล โสภารัตนาไพศาล
Surangkana Samanloh
Chardsumon Prutipinyo
Nithat Sirichotiratana
Suthee U-sathaporn
author_sort สุรางคนา สมันเลาะห์
title การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช
title_short การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช
title_full การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช
title_fullStr การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช
title_full_unstemmed การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช
title_sort การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36893
_version_ 1763496225807532032
spelling th-mahidol.368932023-03-30T18:57:12Z การตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลศิริราช Decision on using self-referral health care services by cancer patients under Universal Coverage Scheme at Siriraj Hospital สุรางคนา สมันเลาะห์ ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ สุธี อยู่สถาพร นพดล โสภารัตนาไพศาล Surangkana Samanloh Chardsumon Prutipinyo Nithat Sirichotiratana Suthee U-sathaporn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข การรักษาพยาบาลข้ามขั้นตอน ผู้ป่วยโรคมะเร็ง สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจใช้บริการข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็งและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการรับรู้สิทธิการรักษาพยาบาลตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มาใช้บริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลศิริราช ขนาดตัวอย่างจำนวน 213 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ป่วยที่ใช้สิทธิตามขั้นตอน จำนวน 142 คน และกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้สิทธิข้ามขั้นตอน จำนวน 71 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ผลการศึกษา พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มที่ใช้สิทธิตามขั้นตอนมีการรับรู้ขั้นตอนการใช้สิทธิ การรักษาอยู่ในระดับดี แต่การใช้สิทธิในภาวะฉุกเฉินและกรณีป่วยเป็นโรคเฉพาะในระดับปานกลาง แต่กลุ่มผู้ป่วยที่ใช้สิทธิข้ามขั้นตอน มีการรับรู้ขั้นตอนการใช้สิทธิ การรักษาอยู่ในระดับดี แต่การใช้สิทธิในภาวะฉุกเฉินและกรณีป่วยเป็นโรคเฉพาะในระดับต่ำ การยอมรับและเชื่อถือต่อแพทย์และโรงพยาบาลศิริราช ร้อยละ 91.2 การตัดสินใจใช้บริการข้ามขั้นตอนมีปัจจัยหลายด้าน การรับรู้สิทธิขั้นพื้นฐานทางสุขภาพ การรับรู้บริการทางสุขภาพที่สามารถใช้ในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า รวมถึงการรับรู้สถานพยาบาลที่สิทธิเข้ารับบริการรักษาพยาบาลในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจในการใช้บริการข้ามขั้นตอนการรักษาตามสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้สถานภาพสมรส รายได้ ค่าใช้จ่าย ปัจจัยทางสาธารณูปโภคและการเจ็บป่วยครั้งล่าสุด ก็มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจในการใช้บริการข้ามขั้นตอนการรักษาตามสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากผลการวิจัย จึงควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลของโครงการหลักประกันสุขภาพเพิ่มขึ้นในทุกด้าน เพื่อลดปัญหาการตัดสินใจในการใช้บริการข้ามขั้นตอนของผู้ป่วยโรคมะเร็ง This research objective is to compare the decision on using self-referral health care services of cancer patients under universal coverage and compare various factors that affect the decision-making process of cancer patients with universal coverage in terms of using self-referral health care services at Siriraj hospital. The sample group comprises of 213 patients. A questionnaire was used as an instrument for data collection. The results indicated that patients who follow a regular process, their level of acknowledgement of rights to medical care is at a high level. However, their acknowledgements of rights to emergency care and in case of specific diseases are at a moderate level. Similarly, the acknowledgement of rights to medical care of patients who by-pass the process is at a high level. However, their perception of rights to emergency care and in case of specific diseases is at a low level. Furthermore, 91.2% of the participants accept and have confidence in the physicians and Siriraj Hospital. There are many factors that affect the decision-making process in using the by-pass services, which include: the acknowledgement of rights to basic healthcare; the acknowledgement of healthcare services that can be exercised under the universal coverage; and the acknowledgement of eligible healthcare providers under the universal coverage. The aforementioned factors have an influence on the decision-making process of patients with universal coverage in terms of using self-referral health care services at a significant level of 0.05. Likewise, the marital status, levels of income and expenses, public utility factors, and recent illnesses also impact the decision-making process for using self-referral health care services at a significant level of 0.05. According to the research findings, more information regarding the universal healthcare should be provided to the public in all aspects in order to resolve the self-referral health care services issues of cancer patients. 2018-11-29T02:55:08Z 2018-11-29T02:55:08Z 2561-11-29 2560 Article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 3, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2560), 31-45 2408-249X https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36893 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf