การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี

การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ คุณภาพการให้บริการ ในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารในเขตเทศบาลเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี และศึกษาเปรียบเทียบประสบการณ์การมารับบริการของผู้ประกอบการ ขนาดกิจการ การขอ อนุญาต ลักษณะกิจการ และระยะเวลาการขออน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วรัฐกานต์ อัศวพรวิพุธ, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์, สุธี อยู่สถาพร, Waratthakarn Aussawapronwiput, Chardsumon Prutipinyo, Nithat Sirichotiratana, Sutee U-Sathaporn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36905
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.36905
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การรับรู้คุณภาพการบริการ
การออกใบอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหาร
Open Access article
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
spellingShingle การรับรู้คุณภาพการบริการ
การออกใบอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหาร
Open Access article
วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข
Public Health & Health Laws Journal
วรัฐกานต์ อัศวพรวิพุธ
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์
สุธี อยู่สถาพร
Waratthakarn Aussawapronwiput
Chardsumon Prutipinyo
Nithat Sirichotiratana
Sutee U-Sathaporn
การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
description การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ คุณภาพการให้บริการ ในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารในเขตเทศบาลเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี และศึกษาเปรียบเทียบประสบการณ์การมารับบริการของผู้ประกอบการ ขนาดกิจการ การขอ อนุญาต ลักษณะกิจการ และระยะเวลาการขออนุญาต กับ การรับรู้คุณภาพการให้บริการในการอนุญาต ประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เก็บข้อมูลโดยการเลือกทุก รายที่เข้ามาติอต่อดำเนินการขออนุญาตประกอบกิจการ ทั้งต่ออายุและขอใหม่ จานวน 100 รายที่เต็มใจตอบ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และการทดสอบ ด้วยสถิติ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 60 มีอายุระหว่าง 46-55 ปีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 34 การศึกษาระดับประถมศึกษา มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 36 มีรายได้อยู่ ระหว่าง 1- 50,000 บาทมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91 และมีประสบการณ์ในการเข้ารับบริการส่วนใหญ่อยู่ที่ 1 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 36 ส่วนใหญ่ประกอบกิจการขนาดเล็ก (พื้นที่ < 200ตร.ม.) คิดเป็นร้อยละ 70 ส่วนใหญ่ ขออนุญาตเป็นหนังสือรับรองการแจ้ง คิดเป็นร้อยละ 70 ประกอบกิจการจำหน่ายอาหารมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 86 ส่วนใหญ่ใช้เวลาในการขออนุญาต 1-5 วัน คิดเป็นร้อยละ 73 ความคิดเห็นของผู้ประกอบการใน การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ทั้ง 3 ด้านคือ ด้านความสะดวกรวดเร็ว ด้านความสุภาพของผู้ให้บริการ ด้าน ขั้นตอนการให้บริการ อยู่ในระดับ ดี ( ̅ = 4.03, 4.20, 3.97 S.D. = 0.551, 0.505, 0.508) การรับรู้คุณภาพ การบริการในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารในภาพรวมอยู่ในระดับสูงกว่าที่คาดหวัง ( ̅ = 3.47) จากการศึกษาเปรียบเทียบ พบว่า ประสบการณ์การมารับบริการของผู้ประกอบการ และลักษณะ กิจการ ที่แตกต่างกัน ทำให้มีการรับรู้คุณภาพการให้บริการในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสม อาหารแตกต่างกัน (p < 0.05) แต่ขนาดกิจการ การขออนุญาต และระยะเวลาในการขออนุญาตของ ผู้ประกอบการที่แตกต่างกัน ไม่ทำให้การรับรู้คุณภาพการให้บริการในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่าย และสะสมอาหารแตกต่างกัน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
วรัฐกานต์ อัศวพรวิพุธ
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์
สุธี อยู่สถาพร
Waratthakarn Aussawapronwiput
Chardsumon Prutipinyo
Nithat Sirichotiratana
Sutee U-Sathaporn
format Article
author วรัฐกานต์ อัศวพรวิพุธ
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์
สุธี อยู่สถาพร
Waratthakarn Aussawapronwiput
Chardsumon Prutipinyo
Nithat Sirichotiratana
Sutee U-Sathaporn
author_sort วรัฐกานต์ อัศวพรวิพุธ
title การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
title_short การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
title_full การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
title_fullStr การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
title_full_unstemmed การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
title_sort การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36905
_version_ 1763491614320230400
spelling th-mahidol.369052023-03-30T16:33:33Z การรับรู้คุณภาพการให้บริการ : การอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี The Perception of Service Quality: Issuing Licenses for Foods Operators according to Public Health act, 2535 B.E., in Muang municipality, Supanburi province วรัฐกานต์ อัศวพรวิพุธ ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ สุธี อยู่สถาพร Waratthakarn Aussawapronwiput Chardsumon Prutipinyo Nithat Sirichotiratana Sutee U-Sathaporn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข การรับรู้คุณภาพการบริการ การออกใบอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหาร Open Access article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข Public Health & Health Laws Journal การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ คุณภาพการให้บริการ ในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารในเขตเทศบาลเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี และศึกษาเปรียบเทียบประสบการณ์การมารับบริการของผู้ประกอบการ ขนาดกิจการ การขอ อนุญาต ลักษณะกิจการ และระยะเวลาการขออนุญาต กับ การรับรู้คุณภาพการให้บริการในการอนุญาต ประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เก็บข้อมูลโดยการเลือกทุก รายที่เข้ามาติอต่อดำเนินการขออนุญาตประกอบกิจการ ทั้งต่ออายุและขอใหม่ จานวน 100 รายที่เต็มใจตอบ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และการทดสอบ ด้วยสถิติ Independent t-test ผลการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 60 มีอายุระหว่าง 46-55 ปีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 34 การศึกษาระดับประถมศึกษา มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 36 มีรายได้อยู่ ระหว่าง 1- 50,000 บาทมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91 และมีประสบการณ์ในการเข้ารับบริการส่วนใหญ่อยู่ที่ 1 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 36 ส่วนใหญ่ประกอบกิจการขนาดเล็ก (พื้นที่ < 200ตร.ม.) คิดเป็นร้อยละ 70 ส่วนใหญ่ ขออนุญาตเป็นหนังสือรับรองการแจ้ง คิดเป็นร้อยละ 70 ประกอบกิจการจำหน่ายอาหารมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 86 ส่วนใหญ่ใช้เวลาในการขออนุญาต 1-5 วัน คิดเป็นร้อยละ 73 ความคิดเห็นของผู้ประกอบการใน การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ทั้ง 3 ด้านคือ ด้านความสะดวกรวดเร็ว ด้านความสุภาพของผู้ให้บริการ ด้าน ขั้นตอนการให้บริการ อยู่ในระดับ ดี ( ̅ = 4.03, 4.20, 3.97 S.D. = 0.551, 0.505, 0.508) การรับรู้คุณภาพ การบริการในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสมอาหารในภาพรวมอยู่ในระดับสูงกว่าที่คาดหวัง ( ̅ = 3.47) จากการศึกษาเปรียบเทียบ พบว่า ประสบการณ์การมารับบริการของผู้ประกอบการ และลักษณะ กิจการ ที่แตกต่างกัน ทำให้มีการรับรู้คุณภาพการให้บริการในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่ายและสะสม อาหารแตกต่างกัน (p < 0.05) แต่ขนาดกิจการ การขออนุญาต และระยะเวลาในการขออนุญาตของ ผู้ประกอบการที่แตกต่างกัน ไม่ทำให้การรับรู้คุณภาพการให้บริการในการอนุญาตประกอบกิจการจำหน่าย และสะสมอาหารแตกต่างกัน This survey research aimed at studying the perception of service quality in issuing licenses to food operators in Muang municipality, Supanburi province; and comparatively studying the food operators’ experiences in receiving service, business sizes, business types, license applications, application durations, and their perception of service quality in issuing food business licenses in Muang municipality, Supanburi province. Data was collected by using questionnaires to 100 food operators, who contacted the municipality to renew their licenses or apply for a new license and were willing to participate in the survey. Statistics used in data analysis were percentage, mean, and Independent t-test. The research findings revealed that 60% of the food operators were female, 34% were between 46-55 years old, 36% graduated primary schools, 91% earned income between 1- 50,000 Baht, and 36% had one time experience in receiving the service. 70% of the food operators had small businesses (area < 200 m2). 70% used the Food Business Establishment Registration Form to apply. 86% ran businesses selling food only. 73% spent 1-5 days to get the license. Regarding to the 3 service aspects: speed and convenience, politeness, and service procedures by the staff, the food operators had opinions toward this at a good level ( ̅ = 4.03, 4.20, 3.97 S.D. = 0.551, 0.505, 0.508) . Overall perception of service quality in issuing food business licenses was at the higher than expected level ( ̅ = 3.47). From the comparative study, the food operators’ experiences in receiving service and different types of business resulted in different perception of service quality in issuing food business licenses (p < 0.05). However, different business sizes, license applications, and application durations did not contribute to different perception of service quality in issuing food business licenses. 2018-11-29T04:25:15Z 2018-11-29T04:25:15Z 2561-11-29 2561 Article วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (พ.ค-ส.ค 2561), 153-162 2408-249X https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/36905 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf