ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาถึงความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติในการ เข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์ เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและ การปฏิบัติในการพัฒนาสู่ความเป็นสา...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43890 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.43890 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ ความเป็นสากล คณะแพทยศาสตร์ |
spellingShingle |
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ ความเป็นสากล คณะแพทยศาสตร์ ชโลธร โอฬารประเสริฐ จิตรลดา อมรวัฒนา จิรายุ เอื้อวรากุล สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย |
description |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาถึงความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติในการ
เข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์ เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและ
การปฏิบัติในการพัฒนาสู่ความเป็นสากลของบุคลากร และปัจจัยส่วนบุคคล
ที่อาจมีผลต่อความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของบุคลากร โดยใช้การวิเคราะห์
เชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม โดยกำหนดจำนวน
ประชากรเป็นบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน
16,253 คน คำนวณกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรการคำนวณของ Taro Yamane
ได้ผลลัพธ์ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่คำนวณได้ เท่ากับ 391 คน และวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยสถิติ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test)
ผลการวิจัยพบว่า (1) ความรู้ในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากร มีค่าเฉลี่ย
โดยรวมด้านความเป็นสากลอยู่ในระดับดี ด้านความเป็นสากลของมหาวิทยาลัยมหิดลอยู่ในระดับดี ความเป็นสากลของคณะแพทยศาสตร์
อยู่ในระดับปานกลาง (2) ทัศนคติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากร
มีค่าเฉลี่ยโดยรวมทางทัศนคติต่อด้านความเป็นสากลและทัศนคติต่อคณะฯ ด้าน
ความเป็นสากลในระดับมากที่สุด และทัศนคติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของ
หน่วยงานอยู่ในระดับปานกลาง (3) การปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของ
บุคลากรมีค่าเฉลี่ยโดยรวมในการปฏิบัติของคณะฯ ด้านความเป็นสากล
ในระดับมาก และการปฏิบัติของบุคลากรและการปฏิบัติของหน่วยงาน
อยู่ในระดับน้อย (4) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส
ระยะเวลาการปฏิบัติงานมีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็น
สากลไม่แตกต่างกัน (5) ระดับการศึกษา มีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติใน
การเข้าสู่ความเป็นสากลแตกต่างกัน และสายอาชีพ (แพทย์และบุคลากรสาย
สนับสนุน) มีทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลแตกต่างกัน
โดยสรุปบุคลากรของคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้ มีความรู้ระดับปานกลาง
มีทัศนคติที่ดีระดับมากที่สุดและมีการปฏิบัติระดับน้อย ดังนั้น การจะพัฒนาสู่
ความเป็นสากล จำเป็นต้องสื่อสารให้ความรู้ด้านความเป็นสากลทุกระดับและ
สนับสนุนให้มีการปฏิบัติจริงที่มีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น ในระดับหน่วยงาน
เพื่อให้คณะฯ และมหาวิทยาลัยก้าวสู่ความเป็นสากลอย่างแท้จริง |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ ชโลธร โอฬารประเสริฐ จิตรลดา อมรวัฒนา จิรายุ เอื้อวรากุล สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ |
format |
Article |
author |
ชโลธร โอฬารประเสริฐ จิตรลดา อมรวัฒนา จิรายุ เอื้อวรากุล สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ |
author_sort |
ชโลธร โอฬารประเสริฐ |
title |
ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย |
title_short |
ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย |
title_full |
ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย |
title_fullStr |
ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย |
title_full_unstemmed |
ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย |
title_sort |
ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43890 |
_version_ |
1763497281575714816 |
spelling |
th-mahidol.438902023-03-30T20:41:18Z ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย Knowledge, Attitude and Practice of Personnel of One Faculty of Medicine in Thailand towards Internationalization ชโลธร โอฬารประเสริฐ จิตรลดา อมรวัฒนา จิรายุ เอื้อวรากุล สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ ความเป็นสากล คณะแพทยศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาถึงความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติในการ เข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากรในคณะแพทยศาสตร์ เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและ การปฏิบัติในการพัฒนาสู่ความเป็นสากลของบุคลากร และปัจจัยส่วนบุคคล ที่อาจมีผลต่อความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของบุคลากร โดยใช้การวิเคราะห์ เชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม โดยกำหนดจำนวน ประชากรเป็นบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 16,253 คน คำนวณกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรการคำนวณของ Taro Yamane ได้ผลลัพธ์ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่คำนวณได้ เท่ากับ 391 คน และวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test) ผลการวิจัยพบว่า (1) ความรู้ในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากร มีค่าเฉลี่ย โดยรวมด้านความเป็นสากลอยู่ในระดับดี ด้านความเป็นสากลของมหาวิทยาลัยมหิดลอยู่ในระดับดี ความเป็นสากลของคณะแพทยศาสตร์ อยู่ในระดับปานกลาง (2) ทัศนคติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของบุคลากร มีค่าเฉลี่ยโดยรวมทางทัศนคติต่อด้านความเป็นสากลและทัศนคติต่อคณะฯ ด้าน ความเป็นสากลในระดับมากที่สุด และทัศนคติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของ หน่วยงานอยู่ในระดับปานกลาง (3) การปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลของ บุคลากรมีค่าเฉลี่ยโดยรวมในการปฏิบัติของคณะฯ ด้านความเป็นสากล ในระดับมาก และการปฏิบัติของบุคลากรและการปฏิบัติของหน่วยงาน อยู่ในระดับน้อย (4) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระยะเวลาการปฏิบัติงานมีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็น สากลไม่แตกต่างกัน (5) ระดับการศึกษา มีความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติใน การเข้าสู่ความเป็นสากลแตกต่างกัน และสายอาชีพ (แพทย์และบุคลากรสาย สนับสนุน) มีทัศนคติ และการปฏิบัติในการเข้าสู่ความเป็นสากลแตกต่างกัน โดยสรุปบุคลากรของคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้ มีความรู้ระดับปานกลาง มีทัศนคติที่ดีระดับมากที่สุดและมีการปฏิบัติระดับน้อย ดังนั้น การจะพัฒนาสู่ ความเป็นสากล จำเป็นต้องสื่อสารให้ความรู้ด้านความเป็นสากลทุกระดับและ สนับสนุนให้มีการปฏิบัติจริงที่มีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น ในระดับหน่วยงาน เพื่อให้คณะฯ และมหาวิทยาลัยก้าวสู่ความเป็นสากลอย่างแท้จริง This research aims 1) to learn about the knowledge, attitude, and practices of the personnel of one faculty of medicine in Thailand regarding internationalization 2) to compare the fundamental factors regarding knowledge, attitude, and practices involving internationalization, and 3) to suggest development methods towards internationalization for the Faculty of Medicine. The research tool is a questionnaire, and the sample size for this study is 391 personnel of one faculty of medicine. The statistical analysis is performed in terms of frequency distribution, percentage, mean, and ANOVA. The results are as follows : (1) The knowledge of internationalization of personnel and knowledge of internationalization of Mahidol University is at a good level while internationalization of the Faculty of Medicine is at a moderate level. (2) The personnel’s attitude towards internationalization and the internationalization of the Faculty of Medicine is at the highest level and the attitude of internationalization at the unit level is low. (3) The overall practice of internationalization at the faculty level is good but the practice of internationalization of personnel and units is low. (4) Differences in the personnel’s fundamental factors, i.e., gender, age, marital status, and work experience do not affect differences in their knowledge, attitude, and practice. (5) Differences in the personnel’s fundamental factors, i.e., education affected differences in their knowledge, attitude, and practice, but occupation affected differences in their attitude and practice. In conclusion, the personnel’s knowledge at this faculty of medicine is at a moderate level. The attitude of personnel is at the highest level whereas the practice of internationalization of personnel was low. It can be suggested that the communication and implementation of the knowledge and practice of internationalization should be promoted to improve all personnel at all levels. The Faculty of Medicine should have more English activities in routine practice to help achieve internationalization of the Faculty of Medicine and the university. 2019-05-14T01:45:12Z 2019-05-14T01:45:12Z 2562-05-14 2559 Article วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 3, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2559), 28-56 2350-983x https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43890 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |