การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของบทความ คือเพื่อถอดบทเรียนการจัดการระบบ ประกันสุขภาพในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปและเพื่อนำข้อค้นพบที่ได้มาปรับ ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในบริบทของประเทศไทย วิธีการศึกษาใช้การทบทวน วรรณกรรมแบบเจาะจง โดยมุ่งเน้นที่ “คนต่างด้าวนอกระบบทะเบียน (undocumented migrants)” ซึ่งหมายถึงคนต่างด้าวที่...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43892 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.43892 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal คนต่างด้าว ประกันสุขภาพ บริการสุขภาพ สหภาพยุโรป ประเทศไทย |
spellingShingle |
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal คนต่างด้าว ประกันสุขภาพ บริการสุขภาพ สหภาพยุโรป ประเทศไทย ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ คนางค์ คันธมธุรพจน์ วีระศักดิ์ พุทธาศรี ศุภกิจ ศิริลักษณ์ การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้ |
description |
วัตถุประสงค์ของบทความ คือเพื่อถอดบทเรียนการจัดการระบบ
ประกันสุขภาพในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปและเพื่อนำข้อค้นพบที่ได้มาปรับ
ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในบริบทของประเทศไทย วิธีการศึกษาใช้การทบทวน
วรรณกรรมแบบเจาะจง โดยมุ่งเน้นที่ “คนต่างด้าวนอกระบบทะเบียน
(undocumented migrants)” ซึ่งหมายถึงคนต่างด้าวที่เข้าสู่ประเทศปลายทาง
โดยไม่ได้รับอนุญาต หรือบุคคลที่แม้เข้าประเทศปลายทางโดยถูกต้อง แต่อาศัย
อยู่จนเกินกว่าระยะเวลาที่กฎหมายประเทศปลายทางกำหนด ผลการศึกษาพบ
ว่าขอบเขตการให้บริการสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในสหภาพยุโรปแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) ให้บริการเฉพาะอุบัติเหตุฉุกเฉิน,
(2) ให้บริการครอบคลุมสิทธิประโยชน์พื้นฐานบางส่วนและเฉพาะบางกลุ่ม
ของคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียน และ (3) ครอบคลุมบริการสุขภาพเกือบ
ทั้งหมด รูปแบบการให้บริการประกันสุขภาพที่มีความหลากหลายแตกต่างกัน
ไปในแต่ละประเทศ ทั้งนี้ขึ้นกับบริบททางการเมือง โครงสร้างระบบสาธารณสุข
และทิศทางนโยบายคนต่างด้าวในภาพรวมของประเทศนั้น ๆ เมื่อเทียบเคียง
กับประเทศไทย พบว่า นโยบายประกันสุขภาพของรัฐไทยค่อนข้างเปิดกว้าง
ในการประกันสุขภาพคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนโดยให้บริการครอบคลุม
สิทธิประโยชน์เกือบทั้งหมด ทั้งนี้มีประเด็นท้าทายที่พึงเรียนรู้จากยุโรป คือ
แม้ประเทศที่มีนโยบายเปิดกว้างในเรื่องการประกันสุขภาพ คนต่างด้าว
นอกระบบทะเบียนส่วนหนึ่งก็ยังไม่ได้รับการประกันสุขภาพ เนื่องจากความ
หวาดกลัว ที่จะเปิดเผยตัวตนต่อเจ้าหน้าที่รัฐ ดังนั้น การส่งเสริมให้มีบุคลากร
สุขภาพทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมประสานระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐกับ
คนต่างด้าว การมีทิศทางของนโยบายที่ชัดเจนจากภาครัฐที่บ่งชี้ให้การประกัน
สุขภาพเป็นมาตรการบังคับ เพื่อลดการตีความของการดำเนินนโยบายในแต่ละ
พื้นที่ การลดเงื่อนไขของการประกันสุขภาพ และการร่วมมือกับภาคเอกชน
ในการดำเนินนโยบาย น่าจะเป็นมาตรการสำคัญในการทำให้การประกันสุขภาพ
สำหรับคนต่างด้าวในประเทศไทยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ คนางค์ คันธมธุรพจน์ วีระศักดิ์ พุทธาศรี ศุภกิจ ศิริลักษณ์ |
format |
Article |
author |
ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ คนางค์ คันธมธุรพจน์ วีระศักดิ์ พุทธาศรี ศุภกิจ ศิริลักษณ์ |
author_sort |
ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ |
title |
การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้ |
title_short |
การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้ |
title_full |
การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้ |
title_fullStr |
การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้ |
title_full_unstemmed |
การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้ |
title_sort |
การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้ |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43892 |
_version_ |
1763489355026923520 |
spelling |
th-mahidol.438922023-03-31T08:21:47Z การทบทวนวรรณกรรมการจัดการระบบประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในภูมิภาคยุโรป : บทเรียนที่ระบบสาธารณสุขไทยพึงเรียนรู้ Literature Review on Health Insurance Management for Cross-border Undocumented Migrants in European Region : Worth Learning Lessons for Thai Healthcare System ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์ คนางค์ คันธมธุรพจน์ วีระศักดิ์ พุทธาศรี ศุภกิจ ศิริลักษณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์ วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ Integrated Social Science Journal คนต่างด้าว ประกันสุขภาพ บริการสุขภาพ สหภาพยุโรป ประเทศไทย วัตถุประสงค์ของบทความ คือเพื่อถอดบทเรียนการจัดการระบบ ประกันสุขภาพในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปและเพื่อนำข้อค้นพบที่ได้มาปรับ ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในบริบทของประเทศไทย วิธีการศึกษาใช้การทบทวน วรรณกรรมแบบเจาะจง โดยมุ่งเน้นที่ “คนต่างด้าวนอกระบบทะเบียน (undocumented migrants)” ซึ่งหมายถึงคนต่างด้าวที่เข้าสู่ประเทศปลายทาง โดยไม่ได้รับอนุญาต หรือบุคคลที่แม้เข้าประเทศปลายทางโดยถูกต้อง แต่อาศัย อยู่จนเกินกว่าระยะเวลาที่กฎหมายประเทศปลายทางกำหนด ผลการศึกษาพบ ว่าขอบเขตการให้บริการสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนในสหภาพยุโรปแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) ให้บริการเฉพาะอุบัติเหตุฉุกเฉิน, (2) ให้บริการครอบคลุมสิทธิประโยชน์พื้นฐานบางส่วนและเฉพาะบางกลุ่ม ของคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียน และ (3) ครอบคลุมบริการสุขภาพเกือบ ทั้งหมด รูปแบบการให้บริการประกันสุขภาพที่มีความหลากหลายแตกต่างกัน ไปในแต่ละประเทศ ทั้งนี้ขึ้นกับบริบททางการเมือง โครงสร้างระบบสาธารณสุข และทิศทางนโยบายคนต่างด้าวในภาพรวมของประเทศนั้น ๆ เมื่อเทียบเคียง กับประเทศไทย พบว่า นโยบายประกันสุขภาพของรัฐไทยค่อนข้างเปิดกว้าง ในการประกันสุขภาพคนต่างด้าวนอกระบบทะเบียนโดยให้บริการครอบคลุม สิทธิประโยชน์เกือบทั้งหมด ทั้งนี้มีประเด็นท้าทายที่พึงเรียนรู้จากยุโรป คือ แม้ประเทศที่มีนโยบายเปิดกว้างในเรื่องการประกันสุขภาพ คนต่างด้าว นอกระบบทะเบียนส่วนหนึ่งก็ยังไม่ได้รับการประกันสุขภาพ เนื่องจากความ หวาดกลัว ที่จะเปิดเผยตัวตนต่อเจ้าหน้าที่รัฐ ดังนั้น การส่งเสริมให้มีบุคลากร สุขภาพทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมประสานระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐกับ คนต่างด้าว การมีทิศทางของนโยบายที่ชัดเจนจากภาครัฐที่บ่งชี้ให้การประกัน สุขภาพเป็นมาตรการบังคับ เพื่อลดการตีความของการดำเนินนโยบายในแต่ละ พื้นที่ การลดเงื่อนไขของการประกันสุขภาพ และการร่วมมือกับภาคเอกชน ในการดำเนินนโยบาย น่าจะเป็นมาตรการสำคัญในการทำให้การประกันสุขภาพ สำหรับคนต่างด้าวในประเทศไทยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป The objectives of this article are to draw lessons concerning the management of migrant health insurance policy in the European Union (EU) countries and to optimise those lessons for the greatest benefit of migrants in the Thai context. A literature review with purposive search was applied as the main method for this study, with a focus on “undocumented migrant”, which is defined as “someone who, owing to illegal entry or the expiry of his or her visa, lacks legal status in the transit or host country”. The term also applies to migrants who infringe a country’s admission rules and any other person not authorized to remain in the host country. The review findings suggested that service management for undocumented migrants in EU countries can be categorized into three groups; (1) services covering only emergency case, (2) services that were expanded beyond emergency care but did not cover all benefit packages and/or covered only parts of undocumented migrants, and (3) services that provided (almost) comprehensive benefit packages. This variation across countries depends on political context, public health structure, and migrant policy direction in each country. Compared with the EU countries, the migrant policy in Thailand is quite open as the benefit packages are comparatively universal. However, there exists worth learning challenge, namely, some undocumented migrants have not been insured due to fear of exposing themselves to the public authorities. Therefore, promoting health workers serving as linkage between the government officers and undocumented migrants, having strong policy message in making the insurance policy more open and mandatory to all undocumented migrants, avoiding inconsistent implementation due to various interpretations across areas, reducing conditions in insuring undocumented migrants, and cooperating with private sector at the implementation level, are likely to be key measures that lead to more effective policy implementation in the real setting. 2019-05-14T07:49:47Z 2019-05-14T07:49:47Z 2562-05-14 2558 Article วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 2, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2558), 186-209 2350-983x https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/43892 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |