ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร

วัตถุประสงค์:เพื่อประเมินผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนาจากการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการบริการวิชาการให้กับสามเณร โรงเรียนวัดไผ่ดํา จังหวัดสิงห์บุรี ประจําปี พ.ศ. 2559 ของสถาบันการศึกษาพยาบาลแห่งหนึ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ผ่องศรี ศรีมรกต, Pongsri Srimoragot, ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง, Thirawan Chuetaleng, ยุวดี ชาติไทย, Yuwadee Chadthai, พิเชต วงรอต, Phichet Wongrot, ณัฎฐณรัณ แคล่วคล่อง, Natnarun KlaewKlong, วิทวัส สืบชัยลังกา, Wittawat Suebchailangka
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44200
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.44200
record_format dspace
spelling th-mahidol.442002023-03-31T09:19:20Z ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร Effects of the Developing Hand Washing Behavior Program on Knowledge, Attitude and Skill among Novice Monks ผ่องศรี ศรีมรกต Pongsri Srimoragot ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง Thirawan Chuetaleng ยุวดี ชาติไทย Yuwadee Chadthai พิเชต วงรอต Phichet Wongrot ณัฎฐณรัณ แคล่วคล่อง Natnarun KlaewKlong วิทวัส สืบชัยลังกา Wittawat Suebchailangka มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ ทัศนคติ พฤติกรรม การล้างมือ ความรู้ attitude behavior hand washing knowledge Journal of Nursing Science วารสารพยาบาลศาสตร์ วัตถุประสงค์:เพื่อประเมินผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนาจากการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการบริการวิชาการให้กับสามเณร โรงเรียนวัดไผ่ดํา จังหวัดสิงห์บุรี ประจําปี พ.ศ. 2559 ของสถาบันการศึกษาพยาบาลแห่งหนึ่ง วิธีดําเนินการวิจัย:ข้อมูลของสามเณรทั้งหมดในโรงเรียนจํานวน 162 รูป ที่เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ ได้แก่ข้อมูลที่เก็บ 3 ระยะ คือ ก่อน-หลังทันที และระยะ 1 เดือนภายหลังร่วมโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือ สามเณรตอบแบบประเมินประเมินความรู้ ทัศนคติต่อการล้างมือ ทักษะการล้างมือ และความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบซ้ำ ผลการวิจัย:ความรู้ ทัศนคติ และทักษะการล้างมือของสามเณรหลังเข้าร่วมโปรแกรมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 และความรู้ ทัศนคติ และทักษะการล้างมือของสามเณรมีความคงทนอยู่ในระยะ 1 เดือนภายหลังร่วมโปรแกรม และสามเณรส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมในระดับมากถึงมากที่สุด สรุปและข้อเสนอแนะ:โปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือสามารถส่งผลให้สามเณรเกิดการเรียนรู้ มีทัศนคติและทักษะการล้างมือที่ดี จึงควรส่งเสริมให้มีการนําโปรแกรมฯ ไปใช้ในกลุ่มประชากรสามเณร และควรมีการเสริมแรงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความคงทนของพฤติกรรม ซึ่งจะส่งผลต่อสภาวะสุขภาพของสามเณรต่อไป Purpose: To evaluate the effect of the developing hand washing behavior program on knowledge, attitude, and skill among novice monks. Design: A descriptive study was conducted using a secondary analysis of existing data collected by one faculty of nursing under the 2016 Academic Service Project for the Novice Monks at Wat Phaidam Buddhist School. Methods: A total of 162 novice monks in the school participate in the Academic Service Project. The data were collected at three phases: before (pre-test), immediately after (post-test1), and one-month after the program. Self-administered questionnaires were used to measure knowledge, attitude, hand washing skill, and the satisfaction towards the program. Descriptive statistics and repeated measures ANOVA were used for data analysis. Main findings: Results revealed that all handed hygiene knowledge, attitude and skill of novice monks are significantly increase after finishing active participation learning program e (p < .05). The Novice monks showed retention of knowledge, attitude and skill on handed hygiene care at 1 month. Additionally, majority of them (80%) expressed their level of satisfaction towards the program ranging between high and highest. Conclusion and recommendations: The developing hand washing behavior program helps improving knowledge, attitude, and skill on hand hygiene care. This program should be promoted to apply among novice monks population and positive reinforcement should be given to sustain their hygiene behavior which, in turn, will result in well-being of novice monks. โครงการวิจัยได้รับทุนจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ 2019-06-28T07:47:04Z 2019-06-28T07:47:04Z 2562-06-28 2561 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2561), 67-77 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44200 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ทัศนคติ
พฤติกรรม
การล้างมือ
ความรู้
attitude
behavior
hand washing
knowledge
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
spellingShingle ทัศนคติ
พฤติกรรม
การล้างมือ
ความรู้
attitude
behavior
hand washing
knowledge
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
ผ่องศรี ศรีมรกต
Pongsri Srimoragot
ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง
Thirawan Chuetaleng
ยุวดี ชาติไทย
Yuwadee Chadthai
พิเชต วงรอต
Phichet Wongrot
ณัฎฐณรัณ แคล่วคล่อง
Natnarun KlaewKlong
วิทวัส สืบชัยลังกา
Wittawat Suebchailangka
ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร
description วัตถุประสงค์:เพื่อประเมินผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนาจากการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการบริการวิชาการให้กับสามเณร โรงเรียนวัดไผ่ดํา จังหวัดสิงห์บุรี ประจําปี พ.ศ. 2559 ของสถาบันการศึกษาพยาบาลแห่งหนึ่ง วิธีดําเนินการวิจัย:ข้อมูลของสามเณรทั้งหมดในโรงเรียนจํานวน 162 รูป ที่เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ ได้แก่ข้อมูลที่เก็บ 3 ระยะ คือ ก่อน-หลังทันที และระยะ 1 เดือนภายหลังร่วมโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือ สามเณรตอบแบบประเมินประเมินความรู้ ทัศนคติต่อการล้างมือ ทักษะการล้างมือ และความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบซ้ำ ผลการวิจัย:ความรู้ ทัศนคติ และทักษะการล้างมือของสามเณรหลังเข้าร่วมโปรแกรมเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 และความรู้ ทัศนคติ และทักษะการล้างมือของสามเณรมีความคงทนอยู่ในระยะ 1 เดือนภายหลังร่วมโปรแกรม และสามเณรส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมในระดับมากถึงมากที่สุด สรุปและข้อเสนอแนะ:โปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือสามารถส่งผลให้สามเณรเกิดการเรียนรู้ มีทัศนคติและทักษะการล้างมือที่ดี จึงควรส่งเสริมให้มีการนําโปรแกรมฯ ไปใช้ในกลุ่มประชากรสามเณร และควรมีการเสริมแรงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความคงทนของพฤติกรรม ซึ่งจะส่งผลต่อสภาวะสุขภาพของสามเณรต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ผ่องศรี ศรีมรกต
Pongsri Srimoragot
ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง
Thirawan Chuetaleng
ยุวดี ชาติไทย
Yuwadee Chadthai
พิเชต วงรอต
Phichet Wongrot
ณัฎฐณรัณ แคล่วคล่อง
Natnarun KlaewKlong
วิทวัส สืบชัยลังกา
Wittawat Suebchailangka
format Article
author ผ่องศรี ศรีมรกต
Pongsri Srimoragot
ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง
Thirawan Chuetaleng
ยุวดี ชาติไทย
Yuwadee Chadthai
พิเชต วงรอต
Phichet Wongrot
ณัฎฐณรัณ แคล่วคล่อง
Natnarun KlaewKlong
วิทวัส สืบชัยลังกา
Wittawat Suebchailangka
author_sort ผ่องศรี ศรีมรกต
title ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร
title_short ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร
title_full ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร
title_fullStr ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร
title_sort ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะในสามเณร
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44200
_version_ 1763491980884574208