ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด

การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ ได้รับการผ่าตัด กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 123 ราย ที่ดูแลผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัด และ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สังกัดกระทร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กตกร ประสารวรณ์, อัจฉรียา ปทุมวัน, เรณู พุกบุญมี, Katakorn Prasanwon, Autchareeya Patoomwan, Renu Pookboonmee
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
Format: Article
Language:Thai
Published: 2019
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44271
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.44271
record_format dspace
spelling th-mahidol.442712023-03-31T01:32:08Z ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด Nurses’ Knowledge, Attitude, and Nursing Practices for Pain Management for Postoperative Children กตกร ประสารวรณ์ อัจฉรียา ปทุมวัน เรณู พุกบุญมี Katakorn Prasanwon Autchareeya Patoomwan Renu Pookboonmee มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติการพยาบาล การจัดการความปวด ความปวดหลังผ่าตัด Knowledge Attitude Nursing practice Pain management Postoperative pain การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ ได้รับการผ่าตัด กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 123 ราย ที่ดูแลผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัด และ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 5 โรงพยาบาลจากทุกภาค ในประเทศไทย โดยวิธีการสุ่มเลือกโดยการจับสลาก เครื่องมือวิจัย เป็นแบบสอบถามความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลในการจัดการความปวดหลังผ่าตัดในผู้ป่วยเด็ก วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติบรรยาย และหาความสัมพันธ์ด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับของความรู้ ทัศนคติของพยาบาลในการจัดการความปวดในเด็กที่ได้รับการผ่าตัดอยู่ในระดับ ปานกลาง ระดับการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในเด็กที่ได้ รับการผ่าตัดอยู่ในระดับสูง และความรู้ ทัศนคติ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการปฏิบัติการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในเด็กที่ได้รับการผ่าตัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อุปสรรคของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดคือ ผู้ป่วยเด็ก และผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการให้การพยาบาลในการจัดการความปวดน้อย พยาบาลมีความรู้ ทัศนคติ และทักษะไม่เพียงพอในการประเมินความปวดโดยเฉพาะการเลือกเครื่องมือประเมิน ความปวด และพยาบาลไม่สามารถแยกความแตกต่างของพฤติกรรมการแสดงออกของความปวด ในเด็กได้ ข้อเสนอแนะควรมีการจัดอบรมการเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดให้เหมาะสม กับวัยของผู้ป่วยแต่ละรายให้กับพยาบาลวิชาชีพและ ควรมีการจัดทำแนวปฏิบัติการพยาบาลใน การประเมินและการจัดการความปวดอย่างชัดเจน The purposes of this descriptive research were to examine the relationship between knowledge, attitude, and practices of nurses to manage postoperative pain in children. The data of this descriptive research was collected from 123 nurses who cared for postoperative children at five tertiary hospitals under the supervision of the Ministry of Public Health from different parts of Thailand. The data were analyzed by using descriptive statistics, and Pearson’s product moment correlation. The results showed that the level of nurses’ knowledge and attitude about pain management for postoperative children were moderate and the level of pain management practices was high. Nurses’ knowledge and attitude about pain management for postoperative children had a statistically significant positive relationship with the pain management practices of nurses for postoperative children. The most frequent barrier of nurses in providing postoperative pain management for children were lack of children and parents’ cooperation; nurses’ inadequate knowledge and skills regarding pain assessment, especially how to select the assessment tool; and nurses’ inability to differentiate children's pain behaviors. The findings highlight the need to provide regular training for nurses in the selection of pain assessment instruments appropriate to the age of each patient and to develop nursing practice guidelines for pain assessment and management of postoperative children. 2019-07-09T02:40:12Z 2019-07-09T02:40:12Z 2562-07-09 2561 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 24, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 37-50 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44271 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความรู้
ทัศนคติ
การปฏิบัติการพยาบาล
การจัดการความปวด
ความปวดหลังผ่าตัด
Knowledge
Attitude
Nursing practice
Pain management
Postoperative pain
spellingShingle ความรู้
ทัศนคติ
การปฏิบัติการพยาบาล
การจัดการความปวด
ความปวดหลังผ่าตัด
Knowledge
Attitude
Nursing practice
Pain management
Postoperative pain
กตกร ประสารวรณ์
อัจฉรียา ปทุมวัน
เรณู พุกบุญมี
Katakorn Prasanwon
Autchareeya Patoomwan
Renu Pookboonmee
ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด
description การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ ได้รับการผ่าตัด กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 123 ราย ที่ดูแลผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัด และ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 5 โรงพยาบาลจากทุกภาค ในประเทศไทย โดยวิธีการสุ่มเลือกโดยการจับสลาก เครื่องมือวิจัย เป็นแบบสอบถามความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลในการจัดการความปวดหลังผ่าตัดในผู้ป่วยเด็ก วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติบรรยาย และหาความสัมพันธ์ด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับของความรู้ ทัศนคติของพยาบาลในการจัดการความปวดในเด็กที่ได้รับการผ่าตัดอยู่ในระดับ ปานกลาง ระดับการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในเด็กที่ได้ รับการผ่าตัดอยู่ในระดับสูง และความรู้ ทัศนคติ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการปฏิบัติการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในเด็กที่ได้รับการผ่าตัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อุปสรรคของพยาบาลวิชาชีพในการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดคือ ผู้ป่วยเด็ก และผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการให้การพยาบาลในการจัดการความปวดน้อย พยาบาลมีความรู้ ทัศนคติ และทักษะไม่เพียงพอในการประเมินความปวดโดยเฉพาะการเลือกเครื่องมือประเมิน ความปวด และพยาบาลไม่สามารถแยกความแตกต่างของพฤติกรรมการแสดงออกของความปวด ในเด็กได้ ข้อเสนอแนะควรมีการจัดอบรมการเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดให้เหมาะสม กับวัยของผู้ป่วยแต่ละรายให้กับพยาบาลวิชาชีพและ ควรมีการจัดทำแนวปฏิบัติการพยาบาลใน การประเมินและการจัดการความปวดอย่างชัดเจน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
กตกร ประสารวรณ์
อัจฉรียา ปทุมวัน
เรณู พุกบุญมี
Katakorn Prasanwon
Autchareeya Patoomwan
Renu Pookboonmee
format Article
author กตกร ประสารวรณ์
อัจฉรียา ปทุมวัน
เรณู พุกบุญมี
Katakorn Prasanwon
Autchareeya Patoomwan
Renu Pookboonmee
author_sort กตกร ประสารวรณ์
title ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด
title_short ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด
title_full ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด
title_fullStr ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด
title_full_unstemmed ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด
title_sort ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพเพื่อจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัด
publishDate 2019
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44271
_version_ 1763492400360062976