คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา
การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็ง ขณะได้รับการรักษา และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลจำแนกตามอายุของเด็กโรคมะเร็ง และระยะเวลาของการเจ็บป่วย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลจำนวน 199 ราย ที่พาเด็กโรคมะเร็ง อายุ 1 เดือน–15 ปี ที่มาตรวจตามนัดในคลินิกโรคเลือด...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44285 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.44285 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.442852023-03-30T17:06:48Z คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา Quality of Life among Caregivers of Children with Cancer undergoing Treatment เขมวดี เพ็งละคร อัจฉรียา ปทุมวัน กมล เผือกเพ็ชร Khemwadee Phenglakorn Autchareeya Patoomwan Kamon Phuakpet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คุณภาพชีวิต ผู้ดูแลเด็ก เด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา Quality of life Caregiver Children with cancer undergoing treatment การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็ง ขณะได้รับการรักษา และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลจำแนกตามอายุของเด็กโรคมะเร็ง และระยะเวลาของการเจ็บป่วย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลจำนวน 199 ราย ที่พาเด็กโรคมะเร็ง อายุ 1 เดือน–15 ปี ที่มาตรวจตามนัดในคลินิกโรคเลือด และหอผู้ป่วยเด็กโรงพยาบาลศิริราช เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม เกี่ยวกับการรักษาของเด็กโรคมะเร็ง และแบบวัดคุณภาพชีวิตผู้ดูแล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Kruskal-Wallis H Test ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าคุณภาพชีวิตทุกด้านของผู้ดูแล อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ความผาสุกด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านจิตวิญญาณ และเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา จำแนกตามอายุ ของเด็กโรคมะเร็ง และระยะเวลาของการเจ็บป่วย พบว่า คุณภาพชีวิตของกลุ่มตัวอย่างมีความ แตกต่างกัน ผู้ดูแลที่ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่มีอายุมาก มีระดับคุณภาพชีวิตดีกว่ากลุ่มที่ดูแลเด็กที่ มีอายุน้อย และผู้ดูแลที่ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่มีระยะของการเจ็บป่วยนาน มีระดับคุณภาพชีวิตดีกว่า กลุ่มที่มีระยะเวลาของการเจ็บป่วยสั้นกว่า ดังนั้น จึงควรมีการพัฒนาแนวทางในการส่งเสริม คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกของการรักษาและ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา This study aimed to explore the quality of life among family caregivers of children with cancer during the time that children undergoing treatment and attending appointments in the hematology clinic and pediatric ward of Siriraj Hospital. Questionnaires were used for data collection, and consisted of the Demographic Data Record Form, the Treatment for Children with Cancer Data Record Form, and the Caregiver Quality of Life Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and the Kruskal-Wallis H Test. The results revealed that caregivers had a moderate level of quality of life. Each aspect of caregivers’ quality of life was at a moderate level, including physical, social, psychological, and spiritual well-being. Based on the test, statistically significant differences were found in the median of the caregivers’ level of quality of life, when compared by the age of children with cancer, and by duration of illness of the children. The data indicated that caregivers of older children with cancer have a better quality of life than those of younger children with cancer, and that caregivers whose children had been ill for a longer time have a better quality of life than those whose children had been ill for a shorter time. Therefore, guidelines on promotion of quality of life among caregivers of children with cancer during treatment, especially in the early stage of treatment, should be developed, and studies on factors affecting quality of life among caregivers of children with cancer during treatment should be conducted. 2019-07-10T03:15:35Z 2019-07-10T03:15:35Z 2562-07-10 2561 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 122-136 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44285 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
คุณภาพชีวิต ผู้ดูแลเด็ก เด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา Quality of life Caregiver Children with cancer undergoing treatment |
spellingShingle |
คุณภาพชีวิต ผู้ดูแลเด็ก เด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา Quality of life Caregiver Children with cancer undergoing treatment เขมวดี เพ็งละคร อัจฉรียา ปทุมวัน กมล เผือกเพ็ชร Khemwadee Phenglakorn Autchareeya Patoomwan Kamon Phuakpet คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา |
description |
การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็ง
ขณะได้รับการรักษา และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลจำแนกตามอายุของเด็กโรคมะเร็ง
และระยะเวลาของการเจ็บป่วย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลจำนวน 199 ราย ที่พาเด็กโรคมะเร็ง
อายุ 1 เดือน–15 ปี ที่มาตรวจตามนัดในคลินิกโรคเลือด และหอผู้ป่วยเด็กโรงพยาบาลศิริราช
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม
เกี่ยวกับการรักษาของเด็กโรคมะเร็ง และแบบวัดคุณภาพชีวิตผู้ดูแล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ
Kruskal-Wallis H Test ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา
โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าคุณภาพชีวิตทุกด้านของผู้ดูแล
อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ความผาสุกด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านจิตวิญญาณ
และเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา จำแนกตามอายุ
ของเด็กโรคมะเร็ง และระยะเวลาของการเจ็บป่วย พบว่า คุณภาพชีวิตของกลุ่มตัวอย่างมีความ
แตกต่างกัน ผู้ดูแลที่ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่มีอายุมาก มีระดับคุณภาพชีวิตดีกว่ากลุ่มที่ดูแลเด็กที่
มีอายุน้อย และผู้ดูแลที่ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่มีระยะของการเจ็บป่วยนาน มีระดับคุณภาพชีวิตดีกว่า
กลุ่มที่มีระยะเวลาของการเจ็บป่วยสั้นกว่า ดังนั้น จึงควรมีการพัฒนาแนวทางในการส่งเสริม
คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกของการรักษาและ
ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี เขมวดี เพ็งละคร อัจฉรียา ปทุมวัน กมล เผือกเพ็ชร Khemwadee Phenglakorn Autchareeya Patoomwan Kamon Phuakpet |
format |
Article |
author |
เขมวดี เพ็งละคร อัจฉรียา ปทุมวัน กมล เผือกเพ็ชร Khemwadee Phenglakorn Autchareeya Patoomwan Kamon Phuakpet |
author_sort |
เขมวดี เพ็งละคร |
title |
คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา |
title_short |
คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา |
title_full |
คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา |
title_fullStr |
คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา |
title_full_unstemmed |
คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา |
title_sort |
คุณภาพชีวิตผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งขณะได้รับการรักษา |
publishDate |
2019 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/44285 |
_version_ |
1763490422830661632 |